Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66475
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWichit Sritrakool-
dc.contributor.authorKamol Tantanasiriwong-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2020-06-18T07:43:12Z-
dc.date.available2020-06-18T07:43:12Z-
dc.date.issued2005-
dc.identifier.isbn9741738676-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66475-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2005-
dc.description.abstractWe model the field emission of a single walled carbon nanotube as that of Liu et al(2003). A triangle-shaped potential energy barrier is assumed at the interface between the nanotip of the nanotube and vacuum. The tunneling probability is determined using the Fowler-Nordheim expression and the energy band of the single-walled carbon nanotube. The current-voltage or I-V characteristic curves of several typical armchairs carbon nanotubes, (5,5), (10,10), (15,15) and (20,20), with zero energy gap at some specific transverse wave vectors are calculated. The carbon nanotube dispersion relation will be reviewed and the calculated IV curves are compared with experiments.-
dc.description.abstractalternativeเราได้สร้างแบบจำลองการปลดปล่อยอิเล็คตรอนที่อุณหภูมิห้องของท่อนาโนคาร์บอนตามงานของลิวและคณะ (2003) ที่บริเวณปลายของท่อนาโนคาร์บอนเราได้ใช้แบบจำลองสนามศักย์เป็นสามเหลี่ยมโดยที่ความชันของสนามศักย์นี้แปรผันตามสนามไฟฟ้าที่จ่ายมาจากภายนอก ค่าความน่าจะเป็นของการทันเนลหาจากสมการของฟาว์เลอร์ และนอร์ดเฮม และ การกระจายตัวของแถบพลังงานภายในของท่อนาโนคาร์บอน ทำให้เราสามารถหาค่าความสัมพันธ์ระหว่างกระแสเนื่องจากการทันเนลของอิเล็คตรอน ที่ปลายของท่อนาโนคาร์บอนกับสนามศักย์ภายนอกที่เราจ่ายเข้าระบบ ที่ท่อนาโนคาร์บอนแบบม้านั่ง ขนาดต่างๆ ตั้งแต่ (5,5), (10,10), (15,15) และ (20,20) ซึ่งมีค่าช่องว่างพลังงานเป็นศูนย์ที่ค่าของฟังก์ชันคลื่นตามแนวขวางของท่อนาโนเฉพาะค่าที่สอดคล้องกับค่าเงื่อนไขขอบเขตตามแนวขวางของท่อนาโนคาร์บอน เราได้ทำการคำนวณการกระจายตัวของพลังงานของอิเล็คตรอนที่สถานะต่างๆของท่อนาโนคาร์บอน รวมไปถึงการเปรียบเทียบเส้นโค้งความสัมพันธ์ของกระแสที่เกิดจากการทันเนลของอิเล็คตรอนที่แปรตามสนามศักย์ภายนอก กับการผลการทดลองด้วย-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1827-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.subjectNanotubes-
dc.subjectCarbon-
dc.subjectTubes-
dc.subjectElectric fields-
dc.subjectท่อนาโน-
dc.subjectคาร์บอน-
dc.subjectท่อ-
dc.subjectสนามไฟฟ้า-
dc.titleModel for field emission from carbon nanotubes-
dc.title.alternativeแบบจำลองสำหรับการแผ่สนามจากท่อนาโนคาร์บอน-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameMaster of Science-
dc.degree.levelMaster's Degree-
dc.degree.disciplinePhysics-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1827-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kamol_ta_front_p.pdf905.43 kBAdobe PDFView/Open
Kamol_ta_ch1_p.pdf738.8 kBAdobe PDFView/Open
Kamol_ta_ch2_p.pdf964.92 kBAdobe PDFView/Open
Kamol_ta_ch3_p.pdf787.72 kBAdobe PDFView/Open
Kamol_ta_ch4_p.pdf880.64 kBAdobe PDFView/Open
Kamol_ta_back_p.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.