Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66522
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เจริญขวัญ ไกรยา | - |
dc.contributor.author | เมวีญา จันทะวงษ์ | - |
dc.contributor.author | สุดธิดา ฝ่งตระกูล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-06-22T04:24:12Z | - |
dc.date.available | 2020-06-22T04:24:12Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66522 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557 | en_US |
dc.description.abstract | สารประกอบซัลเฟอร์เป็นหนึ่งในปัญหาที่สำคัญในอุตสาหกรรมปิโตรเลียม เนื่องจากสารประกอบนี้มีฤทธิ์ กัดกร่อนแม้จะมีอยู่ในปริมาณความเข้มข้นต่ำ ดังนั้นในหลายประเทศจึงได้มีการปรับลดเกณฑ์มาตรฐานสำหรับ ปริมาณซัลเฟอร์ที่อนุญาติให้มีอยู่ในผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมจากเดิมซึ่งไม่เกิน 500 ppm เป็น 10 ppm ทำให้วิธีการ ตรวจวัดซัลเฟอร์ที่มีปริมาณความเข้มข้นต่ำในผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมมีความสำคัญมากขึ้น ในงานวิจัยนี้ จึงศึกษาการ ตรวจวัดปริมาณซัลเฟอร์ในน้ำมันเบนซินโดยใช้เทคนิคสแควร์เวฟโวลแทมเมทรี และศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการ ตรวจวัด ได้แก่ ชนิดของตัวทำละลาย ค่าพีเอชของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ขนาดของขั้วไฟฟ้า และผลของแก๊ส ออกซิเจนในสารละลายที่มีต่อสัญญาณของสารที่วิเคราะห์ จากผลการศึกษาพบว่า ในตัวทำละลายผสมระหว่างกรด แอซีติก 2 เปอร์เซ็นต์กับเมทานอลที่พีเอช 6 โดยใช้ขั้วไฟฟ้าทองขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 40 ไมโครเมตรเป็นขั้วไฟฟ้า ใช้งาน ในสภาวะที่ปราศจากแก๊สออกซิเจน ให้ความไวต่อสัญญาณของซัลเฟอร์ได้ดีที่สุด จากนั้นจึงทำการตรวจวัด ปริมาณซัลเฟอร์ในสารตัวอย่างนำมันเบนซิน โดยใช้สภาวะดังกล่าว พบว่า ตัวอย่างน้ำมันเบนซินทั้งหมดมีปริมาณ ซัลเฟอร์ ต่ำกว่า 5 ppm ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานยูโร 4 ที่ประเทศไทยประกาศใช้ในปัจจุบัน | en_US |
dc.description.abstractalternative | Sulfur compounds are considered to be one of the major problems in petroleum industry. They cause damage even at very low concentration because the sulfur compounds are corrosive. In many countries, an allowable sulfur level in petroleum products has been reduced from not more than 500 ppm down to 10 ppm. Thus, the method for trace sulfur determination in petroleum medium is necessary. This study presents a use of square-wave voltammetry for trace sulfur detection in gasoline. Effects of solvent, pH, electrode size and dissolved oxygen on the sulfur signal were investigated. The results reveal that the best sensitive signal was obtained in methanol at pH 6 on a 40 micrometer gold electrode without oxygen dissolvation. Then, the condition was applied on commercial gasoline samples. The measurement shows that all the samples contain less than 5 ppm sulfur which agrees well with the EURO 4 regulation that currently applied in Thailand. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | น้ำมันเบนซิน | en_US |
dc.subject | น้ำมันเบนซิน -- ปริมาณกำมะถัน | en_US |
dc.subject | Benzene as fuel | en_US |
dc.subject | Benzene as fuel -- Sulfur content | en_US |
dc.title | การตรวจวัดปริมาณซัลเฟอร์ในน้ำมันเบนซิน | en_US |
dc.title.alternative | Sulfur determination in gasoline | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.author | Charoenkwan.K@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2557_29.pdf | 1.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.