Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66568
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราวุฒิ ตังพสุธาดล-
dc.contributor.authorณัฐวัฒน์ คุ้มญาติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-24T08:24:56Z-
dc.date.available2020-06-24T08:24:56Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66568-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557en_US
dc.description.abstractพอลิ(แล็กติก แอซิด) เป็นพอลิเมอร์ที่จัดอยู่ในกลุ่มของพอลิเอสเตอร์สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติโดยสามารถสังเคราะห์ได้จากกรดแล็กติก จึงทำให้พอลิเมอร์ดังกล่าวถูกนำไปใช้อย่างแพร่หลายในงานด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะทางด้านวงการแพทย์ แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจากพอลิเมอร์ชนิดนี มีสมบัติความไม่ชอบน้ำที่ค่อนข้างสูงจึงทำให้มีข้อจำกัดทางด้านการใช้งานเมื่อต้องมีการสัมผัสกับน้ำโดยตรง งานวิจัยนี้จึงได้มีการนำเสนอโมเลกุลขนาดใหญ่ชนิดใหม่ขึ้นมาคือ PLAdi+ ซึ่งเป็นพอลิ(แล็กติก แอซิด) น้ำหนักโมเลกุลต่ำที่มีประจุบวกทางปลายทั้งสองด้านของพอลิเมอร์ โดยสังเคราะห์ได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างพอลิแล็กติกแอซิดกับไกลซิดิลไตรเมทิลแอมโมเนียมคลอไรด์ (GTMAC) ซึ่งมีหมู่ควอเทอร์นารีแอมโมเนียมที่อยู่บนวงอีพอกไซด์ สภาวะการสังเคราะห์ที่เหมาะสมที่สุดมีร้อยละการแทนที่ของประจุบวกที่สูงถึง 68% โดยสมบัติความชอบน้ำของพอลิเมอร์สามารถวัดได้จากการใช้วิธี air-water contact angle measurement และวัดการดูดซับน้ำจากการทำฟิล์มโดยผสมกันระหว่างพอลิแล็กติก ทางการค้ากับ PLAdi+ ในหลายสัดส่วน ซึ่งผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าค่า contact angle ลดลงและแผ่นฟิล์มสามารถดูดน้ำได้มากขึ นเมื่อสัดส่วนของ PLAdi+ เพิ่มขึ้นจาก 10 60% ดังนั้นประจุบวกสามารถเพิ่มคุณสมบัติความชอบน้ำของพอลิเมอร์ได้en_US
dc.description.abstractalternativePoly(lactic acid) is a biodegradable polyester which can be synthesized from lactic acid. It has various practical uses, especially in field of medicine. However, the hydrophobicity of this polymer was rather high, thus limiting its uses when in contact with water. This work introduced a new macromolecule, PLAdi+, a low molecular weight PLA with positive charge on both polymer chain ends. PLAdi+ was synthesized from reacting low molecular weight PLA with GTMAC (glycidyltrimethylammonium chloride), a quaternary ammonium salt carrying an epoxide group. Optimization of synthesis method was carried out to obtain a highest degree of positive charge substitution of 68%. The polymer hydrophilicity was analyzed by air-water contact angle measurement and water absorption study of solvent-cast films of commercially-available PLA mixed with PLAdi+ in various mixed ratios. The results show that the decrease in air-water contact angle values and the increase in water absorption were observed when the content of PLAdi+ were increased from 10-60%. Therefore, the positive charges can increase the hydrophilicity of polymer.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกรดโพลิแล็กติกen_US
dc.subjectพลาสติกที่ย่อยสลายทางชีวภาพen_US
dc.subjectPolylactic aciden_US
dc.subjectBiodegradable plasticsen_US
dc.titleการเพิ่มความชอบน้ำของพอลิ(แล็กติก แอซิด) โดยการผสมกับ PLA สายสั้นที่มีประจุบวกen_US
dc.title.alternativeIncreasing hydrophilicity of poly(lactic acid) by mixing with short chain PLA containing positive chargesen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorVarawut.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nattawat_kh_Se_2558.pdf885.75 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.