Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66571
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอิทธิ ตริสิริสัตยวงศ์-
dc.contributor.authorศักดิ์ชัย กำธรพิพัฒนกุล-
dc.date.accessioned2020-06-24T08:51:57Z-
dc.date.available2020-06-24T08:51:57Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741765045-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66571-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพามาเชื่อมต่อเครื่องมือรังวัดแบบอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ เครื่องรับสัญญาณจีพีเอส เครื่องวัดระยะทาง และกล้องส่องทางไกลพร้อมเข็มทิศเพื่ออ่านค่ารังวัดโดยตรง โดยใช้ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ Arc Pad มาพัฒนาโปรแกรมเพิ่มเติมเพื่อใช้ช่วยในการเก็บข้อมูลในภาคสนามแล้วทำการเก็บข้อมูลจริงในภาคสนาม 3 กรณีคือ 1)สำรวจข้อมูลแผนที่ฐานของการไฟฟ้านครหลวง 2) สำรวจข้อมูลข้อเที่จจริง และ 3) งานตรวจสอบจุดควบคุมภาพถ่าย เพื่อวิเคราะห์ถึงความเหมาะสมและความคุ้มค่าและข้อจำกัดในการนำเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดพกพามาทำงานในภาคสนาม สำหรับงานสำรวจข้อมูลแผนที่ฐานเลือกพื้นที่บริเวณหมู่บ้านมัณฑนา จังหวัดนนทบุรี และภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำหรับพื้นที่ทดสอบงานสำรวจข้อเท็จจริง (Ground Truth) และงานตรวจสอบจุดควบคุมภาพถ่ายอยู่ในพื้นที่อำเภอแกลงและอำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง จากการศึกษาพบว่าในการนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพามาเก็บข้อมูลในภาคสนามแทนระบบดั้งเดิมที่ใช้กระดาษในการบันทึกข้อมูล สามารถลดขั้นตอนการทำงานที่ซํ้าซ้อนในการนำเข้าข้อมูลในสำนักงานประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ผลการทดสอบในกรณีศึกษาทั้ง 3 กรณี พบว่ากรณีที่ 1) ในการจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพามาแทนระบบดั้งเดิม พบว่าจุดคุ้มทุนมีค่าเท่ากับ 1 ปี 1 เดือน ในกรณีที่ 2) และ 3) พบว่า ข้อมูลที่สำรวจได้มีคุณภาพเท่ากับวิธีการแบบดั้งเดิม แต่จะได้ผลตอบแทนที่ไม่สามารถจับต้องได้ ได้แก่ ผู้สำรวจสามารถเห็นผลลัพธ์บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ สามารถตรวจสอบผลการนำเข้าได้ทันที ทำให้มีความมั่นใจมากขึ้น ในการทดสอบการทำงานจริงในภาคสนามพบว่าเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพามาตรฐานที่ใช้ทดสอบยังมีจุดอ่อนในเรื่องของความบอบบาง ยังไม่สามารถใช้งานในสภาพภูมิอากาศได้ทุกสถาน การณ์ ดังนั้นหากมีการลงทุนจัดคอมพิวเตอร์แบบพกพาชนิด Rugged เพื่อให้สามารถใช้งานได้คงทนขึ้น ซึ่งจะต้องลงทุนเพิ่มขึ้น จากการศึกษาพบว่าจุดคุ้มทุนจะนานขึ้นเป็น 2 ปี 2 เดือน-
dc.description.abstractalternativeThis research studies the connection of PDA (Personal Digital Assistant) with three types of electronic survey i.e. GPS receiver, laser range finder and laser binocular for direct intake of the measurements. Application programs are developed on ArcPad, a commercial GIS software package, to assist the field data collection. The suitability, worthiness and limitation of the systems are evaluated on three case studies i.e. 1) landbase updating for MEA (Metropolitan Electricity Authority) 2) ground truth survey for ASTER image supervised classification and 3) photo control checking for georeferencing the same ASTER image in case study two. This research selectes Mantana residential village in Nonthaburi and Chulalongkorn University as two test areas for the first case study. The second and the third case studies are carried out in amphoe Glaeng and Bankai in Rayong province. It is found that employing PDA reduces duplication of data input in the office and consequently save time and cost. The evaluation results show that for the first case study, replacing the existing paper-based procedure by deploying 10 PDA-base systems reaches break-event point in thirteen months. For case study two and three, the PDA-based system provides no obvious tangible benefit. However, the system does generate intangible benefit in the form of user confidence as they are able to see and verify measurements on computer screen immediately after taking. The case studies reveal weakness of standard PDA as non all-weather equipment and thus not suitable for field data collection particularly in rough environment. The system based on rugged PDA is more appropriate but also more costly. The evaluation in case study one shows that it would need twenty six months to break even.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการรังวัด -- เครื่องมือการรังวัด -- การประมวลผลข้อมูลen_US
dc.subjectคอมพิวเตอร์ขนาดฝ่ามือen_US
dc.subjectSurveying -- Instruments Surveying -- Data processingen_US
dc.subjectPocket computersen_US
dc.titleการเชื่อมต่อเครื่องมือรังวัดแบบอิเล็กทรอนิกส์ กับคอมพิวเตอร์แบบพกพาเพื่อการเก็บข้อมูลภาคสนามen_US
dc.title.alternativeConnection of electronic survey instrument and personal digital assistant for field data collectionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineระบบสารสนเทศปริภูมิทางวิศวกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.authorItthi.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sakchai_ka_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.01 MBAdobe PDFView/Open
Sakchai_ka_ch1_p.pdfบทที่ 1981.04 kBAdobe PDFView/Open
Sakchai_ka_ch2_p.pdfบทที่ 21.28 MBAdobe PDFView/Open
Sakchai_ka_ch3_p.pdfบทที่ 32.93 MBAdobe PDFView/Open
Sakchai_ka_ch4_p.pdfบทที่ 41.13 MBAdobe PDFView/Open
Sakchai_ka_ch5_p.pdfบทที่ 51.43 MBAdobe PDFView/Open
Sakchai_ka_ch6_p.pdfบทที่ 6847.47 kBAdobe PDFView/Open
Sakchai_ka_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.