Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66770
Title: การลดและควบคุมของเสียของฟองน้ำขึ้นรูปจากแม่พิมพ์ : กรณีศึกษาโรงงานผลิตชิ้นส่วนเบาะยานยนต์
Other Titles: Defect reduction and control of molded foam product : a case study auto-seat production factory
Authors: เกษมสันต์ สาลีโภชน์
Advisors: วันชัย ริจิรวนิช
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: No information provided
Subjects: อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ -- การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมกระบวนการผลิต
รถยนต์ -- ชิ้นส่วน
การลดปริมาณของเสีย
Automobile supplies industry -- Quality control
Process control
Automobiles -- Parts
Waste minimization
Issue Date: 2548
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ปัญหาของเสียชิ้นส่วนเบาะยานยนต์ ที่ขึ้นรูปจากแม่พิมพ์ และทำการควบคุม กระบวนการผลิตเพื่อลดและป้องกันการเกิดซ้ำของปัญหา งานวิจัยนี้ ได้ประยุกต์ใช้เครื่องมือทางด้านการควบคุมคุณภาพ (QC Tools) ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผล แล้วดำเนินการแก้ไขปัญหาตามกระบวนของการวิเคราะห์ลักษณะข้อบกพร่องและผลกระทบด้านคุณภาพของกระบวนการ (Process – Failure Mode and Effect Analysis ;P-FMEA) โดยมีทีมงานข้ามแผนกเป็นตัวขับเคลื่อนการแก้ไขปรับปรุงกระบวนการผลิต หัวข้อของความล้มเหลวในแต่ละประเด็นปัญหา ที่มีค่าของตัวเลขแสดงลำดับความเสี่ยง (Risk Priority Number, RPN) สูงจะถูกนำมาแก้ไขก่อน ผลการวิจัยสามารถลดชิ้นส่วนเบาะยานยนต์ที่เสียลงได้ จำแนกในแต่ละกระบวนการผลิตดังนี้ กระบวนการเตรียมแม่พิมพ์การผลิต กระบวนการตั้งสภาวะการผลิต กระบวนการ Set Insert กระบวนการผสมน้ำยาที่หัวฉีด กระบวนการฉีดน้ำยา กระบวนการซ่อมแต่งชิ้นงาน ระดับ PPM ของเสีย 245.39 PPM ลดเป็น 1.29 PPM, 720.3 PPM ลดเป็น 47.83 PPM, 734.19 PPM ลดเป็น 19.39 PPM, 74.74 PPM ลดเป็น ไม่มีของเสียเกิดขึ้น และ 219.60 PPM ลดเป็น 11.63 PPM ตามลำดับ ดัชนีชี้วัดผลการปฏิบัติงานในส่วนของ ของเสียภายในได้มีการกำหนดขึ้นเพื่อการควบคุมการลดลงของของเสีย
Other Abstract: The research objectives are to analyze problems of Molded Foam Auto-Seat Product and to control production process in order to reduce and prevent the reoccurrence of the problems. This research utilized the quality control tools to collect data and analyze for solving problem by the use of Process-Failure Mode and Analysis (PFMEA). A Cross Functional Team is driven during the improvement processes. Potential cause for failure of each defect with high Risk Priority Number (RPN) are improved. From the research, the defects from mold preparation condition process, insert setting process, component mixing process are from 245.39 to 1.26 PPM, 720.30 PPM to 47.83 PPM, 734.19 PPM to 19.39 PPM, 74.74 PPM to zero defect and 217.60 PPM to 11.63 PPM respectively. The internal reject-key performance indicators are set for controlling the reducing the defect.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมอุตสาหการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66770
ISBN: 9745329053
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kasemsan_sa_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ1.04 MBAdobe PDFView/Open
Kasemsan_sa_ch1_p.pdfบทที่ 12 MBAdobe PDFView/Open
Kasemsan_sa_ch2_p.pdfบทที่ 22.47 MBAdobe PDFView/Open
Kasemsan_sa_ch3_p.pdfบทที่ 34.77 MBAdobe PDFView/Open
Kasemsan_sa_ch4_p.pdfบทที่ 43.98 MBAdobe PDFView/Open
Kasemsan_sa_ch5_p.pdfบทที่ 51.62 MBAdobe PDFView/Open
Kasemsan_sa_ch6_p.pdfบทที่ 6941.68 kBAdobe PDFView/Open
Kasemsan_sa_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก8.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.