Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66875
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันชัย เทพรักษ์-
dc.contributor.authorวราภรณ์ ธนัตวรานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-07-03T09:08:11Z-
dc.date.available2020-07-03T09:08:11Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745316377-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66875-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractงานวิจัยศึกษาการเคลื่อนตัวของดินเนื่องจากงานขุดเจาะอุโมงค์ ด้วยหัวเจาะแรงดันดินสมดุลย์ลอดผ่านและดัดผ่านสิ่งกีดขวางใต้ดิน ในโครงการก่อสร้างอุโมงค์ส่งน้ำการประปาจากโรงกรองน้ำบางเขนสู่ถนนงามวงศ์วาน อุโมงค์มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก 4. 07 เมตรเจาะในขั้นดินเหนียวแข็งและชั้นทรายที่ระดับความลึกกึ่งกลางอุโมงค์ประมาณ 20-21 เมตร ต่ำจากระดับผิวดิน ผลการตรวจวัดการทรุดตัวที่ผิวดินพบว่าการทรุดตัวของดินเนื่องจากการขุดเจาะอุโมงค์แบ่งออกเป็น 3 ช่วงคือ การทรุดตัวช่วงก่อนหัวเจาะเคลื่อนตัวมาถึง (Flow in shield) ช่วงที่การเจาะผ่าน (In Shield) และช่วงตัวเสระยานฟ้านไปแล้ว (Tail Void) การทรุดตัวช่วงหัวเจาะผ่านพ้นไปแล้วจะมีค่ามากที่สุดเนื่องจากช่องว่างระหว่างหัวเจาะกับดาดอุโมงค์ การเคลื่อนตัวด้านข้างของดินจะเกิดการเคลื่อนตัวออกจากแนวขุดเจาะในชั้นดินเหนียวอ่อนถึงแข็งปานกลางที่ระดับความลึกประมาณ 10-14 เมตรในขณะที่เกิดการเคลื่อนตัวเข้าหาแนวขุดเจาะในขั้นดินเหนียวแข็งที่ระดับแนวขุดเจาะและมีปริมาณการเคลื่อนตัวน้อยกว่าระดับเหนืออุโมงค์ในชั้นดินเหนียวอ่อนถึงแข็งปานกลาง ปริมาณการเคลื่อนตัวด้านข้างของดินในบริเวณที่มีเสาเข็มโครงสร้างอยู่ใกล้กับแนวการขุดเจาะอุโมงค์พบว่ามีค่าน้อยกว่าในบริเวณที่ไม่มีเสาเข็มอยู่ใกล้ ในการประมาณการเคลื่อนตัวของดินจากการขุดเจาะอุโมงค์ผ่านอุปสรรคด้วยวิธีไฟไนท์อิลิเมนท์ โดยใช้ทฤษฎีการพังทลายของดินชนิด Mohr - Coulomb พบว่าสามารถประมาณการเคลื่อนตัวของดินและโครงสร้างสอดคล้องกับผลการตรวจวัดโดยพบว่าอัตราส่วนระหว่างโมดูลัสของดิน (Eu, Young 's Modulus) กับกำลังรับแรงเฉือนของดิน (Su, Undrained shear strength) มีค่า Eu/Su = 240 และ 480 ในชั้นดินเหนียวอ่อนและดินเหนียวแข็งตามลำดับ-
dc.description.abstractalternativeThis research aims to investigate the soil displacement induced by tunneling pass through underground obstruction by Earth Pressure Balance (EPB) shield. The research project is the transmission tunnel project from Bangkhen water treatment plant to Ngamwongwan Road. The outer diameter of tunnel is 4.07 m. bored in the stiff clay and sand layer with centerline of tunnel at about 20-21 m below ground surface. The result of ground surface settlement showed that there were 3 phases of ground settlement stage, as flow in shield, in shield and at tail void. The maximum ground surface settlement was maximum at tail void stage because of the void between cutting soil and the segment The horizontal soil displacements showed the ground deformed outward to the tunnel center in the soft clay al 10- 14 m depth, while the ground deformed inward to the tunnel center in the stiff clay layer. For the soil to the pile foundation position, the horizontal displacement was smaller. The prediction of soil displacement due to tunnelling pass through underground obstruction by the Finite Element Method (FEM), with Mohr-Coulomb failure criteria showed well agreement with the measured results The ratio of Young's Modulus and undrained shear strength (Eu/Su) were in the order 240 and 480 for soft clay and stiff clay, respectively-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการขุดอุโมงค์-
dc.subjectการก่อสร้างใต้ดิน-
dc.subjectTunneling-
dc.subjectUnderground construction-
dc.titleการเคลื่อนตัวของดินเนื่องจากงานขุดเจาะอุโมงค์ผ่านสิ่งกีดขวางใต้ดินen_US
dc.title.alternativeSoil displacement induced by tunnelling pass through underground obstructionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Waraporn_th_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.16 MBAdobe PDFView/Open
Waraporn_th_ch1_p.pdfบทที่ 1977.16 kBAdobe PDFView/Open
Waraporn_th_ch2_p.pdfบทที่ 22.63 MBAdobe PDFView/Open
Waraporn_th_ch3_p.pdfบทที่ 34.63 MBAdobe PDFView/Open
Waraporn_th_ch4_p.pdfบทที่ 42.9 MBAdobe PDFView/Open
Waraporn_th_ch5_p.pdfบทที่ 5747.57 kBAdobe PDFView/Open
Waraporn_th_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก649.28 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.