Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66881
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลัญฉกร วุฒิสิทธิกุลกิจ-
dc.contributor.authorวัฒนา เกยูรรัศมี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-07-03T09:41:48Z-
dc.date.available2020-07-03T09:41:48Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745328928-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66881-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอการควบคุมความแออัดของโครงข่าย TCP / IP โดยอาศัยการร้องขออัตราการส่งจากผู้ใช้ต้นทางเพื่อให้เราเตอร์ระหว่างทางรับทราบและสามารถจัดสรรอัตราการส่งที่เหมาะสมกับสภาพรองความแออัดและจำนวนผู้ใช้ในขณะนั้นเพื่อให้การจัดสรรอัตราการส่งจากปลายถึงปลายทางผู้ให้แต่ละโฟลว์ทำได้อย่างมีความเท่าเทียมกันทั้งในกรณีที่มีช่องสัญญาณแบบใช้สายและแบบไร้สายวิธีการที่เสนอนี้อาศัยกลไกการป้อนกลับข้อมูลเกี่ยวกับขนาดของแบนด์วิดท์และค่าประวิงเวลาจริงในการเข้าถึงข้อมูลผ่านทางแพ็กเกตข้อมูลและแพ็กเกตตอบรับเพื่อให้แหล่งกำเนิดข้อมูลแต่ละแหล่งสามารถปรับอัตราการส่งรองตนให้เหมาะสมและลดคล้องกับสภาพความแออัดของโครงข่ายในขณะนั้นโดยหลักการแล้วถ้าหากปรับอัตราการส่งแพ็กเกตข้อมูลด้วยขนาดที่เหมาะสมแล้วจะสามารถช่วยลดปริมาณแพ็ตเกตที่สูญหายเนื่องจากความแออัดเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ของสิงก์โดยเขาพาะในบริเวณคอขวดและยังสามารถควบคุมให้แหล่งกำเนิดมีโอกาสส่งแพ็กเกตข้อมูลได้อย่างเท่าเทียมกันในกรณีที่การเชื่อมต่อช่วงสุดท้ายเป็นการส่งผ่านแพ็กเกตข้อมูลบนช่องสัญญาณแบบไร้สายได้นำเสนอวิธีการที่เรียกว่าโพรโทคอลสนูปรูปแบบใหม่สำหรับแก้ไขปัญหาที่เกิดเนื่องจากคุณลักษณะเฉพาะของการสูญหายในช่องสัญญาณไร้สายที่จําลองด้วยแบบจำลองมาร์คพี่สองสถานะแบบต่อเนื่องทางเวลา จากผลการทดสอบสมรรถนะของโครงข่ายโดยใช้โทโพโลยีเฉพาะจำนวน 3 รูปแบบที่แตกต่างกันพบว่าวิธีที่เสนอสามารถให้ประสิทธิภาพการส่งข้อมูลในบริเวณคอขวดได้สูงถึงเกือบ 100% ซึ่งสูงกว่าค่าที่ได้จากโพรโทคอล TCP / IP ที่ใช้ในปัจจุบันภายใต้การทดสอบทุกสภาวะในกรณีที่มีช่องสัญญาณไร้สายพบราวิธีที่น้าเสนทให้อัตราการส่งที่สูงกว่าโพรโทคอลสนูปอย่างชัดเจนในบางกรณีให้ผลที่ดีขึ้นกว่า 150% นอกจากนี้เมื่อพิจารณาจากค่าดัชนีของ Jain วิธีที่เสนอยังสามารถจัดสรรอัตราการส่งให้แก่แหล่งกำเนิดแต่ละแหล่งได้เท่าเทียมกันตามสัดส่วนที่พึงจะได้ แต่อย่างไรก็ตามการปรับปรุงประสิทธิภาพช่องสัญญาณไร้สายของโพรโทคอสสนูปรูปแบบใหม่ต้องการขนาดหน่วยความจำมากกว่าโพรโทคอลเดิมเพราะถูกนำไปใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่สูญหายในช่วงของช่องสัญญาณไร้สาย-
dc.description.abstractalternativeThis thesis proposes a congestion control of TCP/IP network using information about sending rate from source in order to router allocate knows and provide sending rale suitable depend congestion condition and number of active flow for systems with wired and wireless channels. The proposed technique applies a feedback mechanism via data packets and acknowledgement packets to send explicit information regarding bandwidth and actual propagation delay time so that each information source can adjust its transmission rate in an appropriate manner to suit the present congestion condition. In principle, if packets are transmitted at appropriate rates, the amount of packet loss can be reduced; the efficiency of bandwidth utilization can be improved in particular at the bottleneck parts, fairness among competing sources can also be accomplished. In case where the last hop in the packet transmission path is a wireless link, we propose a new snoop protocol to resolve the problem of packet loss caused by the characteristics of wireless channel which is characterized by a continuous-time two-state Markov error model. Based on the performance evaluation results using three different network topologies, it is found that the proposed scheme can provide packet transmission across bottleneck link with efficiency at almost 100%, which is higher than the existing TCP/IP protocols for most tested network system configurations. In the case with a wireless link, our proposed technique offers much higher throughput than the snoop protocol, in some cases, the results are improved by 160%. In addition, when applying Jain index for fairness analysis, the proposed technique is capable of allocating bandwidth among sources in a fair and effective fashion. However, to improve the efficiency of wireless channel the new snoop protocol requires larger buffer sizes than the conventional snoop as these buffers are used for caching packets while the wireless channel is severely degraded-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectทีซีพี/ไอพี (โปรโตคอลเครือข่ายคอมพิวเตอร์)-
dc.subjectระบบสื่อสารไร้สาย-
dc.subjectTCP/IP (Computer network protocol)-
dc.subjectWireless communication systems-
dc.titleการจัดสรรแบนด์วิดท์จากปลายถึงปลายอย่างทัดเทียมโดยใช้การควบคุมอัตราอย่างชัดแจ้งควบคู่กับโพรโทคอลสนูปรูปแบบใหม่ในโครงข่าย TCP/IP ไร้สายen_US
dc.title.alternativeEnd-to-end fair bandwidth allocation using explicit rate control with a new shoop protocol in TCP/IP wireless networken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wattana_ke_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.26 MBAdobe PDFView/Open
Wattana_ke_ch1_p.pdfบทที่ 11.15 MBAdobe PDFView/Open
Wattana_ke_ch2_p.pdfบทที่ 21.88 MBAdobe PDFView/Open
Wattana_ke_ch3_p.pdfบทที่ 31.29 MBAdobe PDFView/Open
Wattana_ke_ch4_p.pdfบทที่ 43.58 MBAdobe PDFView/Open
Wattana_ke_ch5_p.pdfบทที่ 5936.63 kBAdobe PDFView/Open
Wattana_ke_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.