Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66882
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปารีณา ศรีวนิชย์-
dc.contributor.authorวรเกียรติ นวลสุวรรณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-07-03T09:48:00Z-
dc.date.available2020-07-03T09:48:00Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741758596-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66882-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้ต้องการศึกษาว่าภายใต้พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ. ศ. 2547 ควรมีมาตรการควบคุมการแสวงหาพยานหลักฐานโดยการสืบสวนสอบสวนด้วยวิธีการแฝงตัวอย่างไรเพื่อจะได้เป็นหลักประกันสิทธิเสรีภาพรองประชาชน และคุ้มครองเจ้าหน้าที่ของรัฐในการปฏิบัติหน้าที่สืบสวนสอบสวนด้วยวิธีกาแฝงตัว จากการศึกษาพบว่าฯพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษพ. ศ. 2547 ให้อำนาจอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ หรือผู้ได้รับมอบหมาย มีอำนาจอนุญาตให้บุคคลใด เข้าไปสืบสวนสอบสวนในคดีพิเศษด้วยวิธีการแฝงตัว เข้าไปในองค์กรหรือกลุ่มบุคคลใด เพื่อค้นหาและรวบรวมพยานหลักฐานตลอดจนมีอำนาจให้จัดทำเอกสาร หรือหลักฐานใดขึ้น เพื่อประโยชน์ในการสืบสวนสอบสวนในคดีพิเศษโดยไม่มีองค์กรภายในหรือภายนอกตรวจสอบอำนาจของอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษทำให้เกิดความไม่โปร่งใสในการใช้อำนาจรองอธิบดีซึ่งแตกต่างจากหลักการอนุญาตให้มีการสืบสวนสอบสวนด้วยวิธีการแต่งตัวของสำนักงานสืบสวนสอบสวนกลาง (F. B.I.) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งจะมีคณะกรรมการทบทวนการอนุญาตให้มีการสืบสวนสอบสวนด้วยวิธีการแฝงตัวตรวจสอบการใช้อำนาจอนุญาตของผู้ใช้อำนาจอนุญาตให้มีการสืบสวนสอบสวนด้วยวิธีการแฝงตัวทำให้เกิดความโปร่งใสในการปฏิบัติการสืบสวนสอบสวนด้วยวิธีการแฝงตัวจึงสมควรนำเอาหลักการตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจอนุญาตให้มีการสืบสวนสอบสวนด้วยวิธีการแฝงตัวที่มีใช้อยู่ในสำนักงานสืบสวนสอบสวนกลาง (F. B.I.) ประเทศสหรัฐอเมริกามาเป็นแนวทางในการตรวจสอบถ่วงดุลย์การใช้อำนาจอนุญาตให้มีการสืบสวนสอบสวนด้วยวิธีการแฝงตัวของอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษตามนาฎหมายนี้สำหรับการรับฟังพยานหลักฐานที่ได้มาจาการสืบสวนสอบสวนด้วยวิธีการแฝงตัวนั้นตามแนวคำพิพากษาฎีกาจนถึงปัจจุบันศาลยอมรับฟังพยานหลักฐานที่ได้มาจากการสืบสวนลีกาสวนด้วยวิธีการแฝงตัวลงโทษจำเลยได้แต่จะต้องเป็นพยานหลักฐานที่มิได้เกิดขึ้นโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือเป็นพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นจากการล่อลวงให้มีการกระทำความผิดจึงสมควรส่งเสริมให้ใช้วิธีการสืบสวนสอบสวนด้วยวิธีการแฝงตัวหาพยานหลักฐานลงโทษผู้กระทำความผิดต่อไป-
dc.description.abstractalternativeThe study shows that pursuant to the Act of Special Investigation B E.2547 The Director General of the Department of Special Investigation and the person assigned by the Director General are competent to give any persons the permission to conduct the special investigation by undercover operation into any organization or any group foe the purposes of searching and gathering the evidence and providing the document or any evidence by mean of the special investigation. The aforementioned power of the D irector G eneral is doubtful b ecause it is with out i nternal or external inspection Unlike the Thailand's system, the America's system is much transparent. Any permission to conduct the special investigation by undercover operation of Federal Bureau of Investigation(F.B.I) of the United State of America will be inspected by the Commission for the Review of the Permission for Undercover Investigation. The Inspection System of the United State of America which is mare transparent than that of Thailand should therefore be adjusted and used in Thailand in order to develop the check and balance system regarding the power of Director General of the Department of special Investigation under the Act of special Investigalion B.E.2547 Any evidence, obtained from the undercover operation, if it is not obtained Through the unlawful process or entrapment, is admissible. The undercover operation therefore is one of the best ways for gathering of evidence for crime control operation which can bring the wrong doer into justice at last.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอาชญากรรมทางเศรษฐกิจen_US
dc.subjectการสืบสวนอาชญากรรมen_US
dc.subjectWhite collar crimesen_US
dc.subjectCriminal investigationen_US
dc.titleการแสวงหาพยานหลักฐานโดยการสืบสวนสอบสวนด้วยวิธีการแฝงตัวen_US
dc.title.alternativeUndercover investigationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPareena.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Worrakiat_nu_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ912.87 kBAdobe PDFView/Open
Worrakiat_nu_ch1_p.pdfบทที่ 1821.41 kBAdobe PDFView/Open
Worrakiat_nu_ch2_p.pdfบทที่ 23.24 MBAdobe PDFView/Open
Worrakiat_nu_ch3_p.pdfบทที่ 32.03 MBAdobe PDFView/Open
Worrakiat_nu_ch4_p.pdfบทที่ 43.1 MBAdobe PDFView/Open
Worrakiat_nu_ch5_p.pdfบทที่ 51.19 MBAdobe PDFView/Open
Worrakiat_nu_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.