Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6700
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรีพร ธนศิลป์ | - |
dc.contributor.author | มาศอุบล วงศ์พรหมชัย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-04-25T02:50:04Z | - |
dc.date.available | 2008-04-25T02:50:04Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9741419724 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6700 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en |
dc.description.abstract | ศึกษากลุ่มอาการ กลยุทธ์ในการจัดการกับอาการ การสนับสนุนทางสังคม กับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด และความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอาการ กลยุทธ์ในการจัดการกับอาการ การสนับสนุนทางสังคม กับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด โดยใช้แบบจำลองการจัดการกับอาการของ Dodd et al. (2001) เป็นกรอบความคิดในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัดที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลรามาธิบดี และศูนย์มหาวชิราลงกรณ์ จำนวน 150 ราย เลือกโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างเป็นระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบประเมินอาการปวด แบบประเมินอาการนอนไม่หลับ แบบประเมินอาการเหนื่อยล้า แบบประเมินอาการซึมเศร้า แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม แบบประเมินคุณภาพชีวิต และแบบสอบถามกลยุทธ์ในการจัดการกับอาการ (อาการปวด อาการนอนไม่หลับ อาการหนื่อล้า และอาการซึมเศร้า) ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิและหาความเที่ยงของแบบสอบถามโดยวิธีของครอนบาคได้เท่ากับ .96, .95, .89, .93, .91, .25, .36, .32,และ .43, ตามลำดับ วิเคาะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและหาความสัมพันธ์โดยใข้สถิติ Eta ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด อยู่ในระดับ สูง( ค่าเฉลี่ย = 66.43, SD = 13.94) 2. จำนวนอาการมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลาง กับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด โดยพบว่าผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัดที่มีอาการเดียว มีคุณภาพชีวิตสูงกว่าผู้ป่วยที่มีกลุ่มอาการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.449, p<.05) 3. การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .201, p<.05) 4. กลยุทธ์ในการจัดการกับอาการปวด ได้แก่ การนอนพัก การนวด การรับประทานอาหาร กลยุทธ์ในการจัดการกับอาการนอนไม่หลับ ได้แก่ การรับประทานยานอนหลับ และกลยุทธ์ในการจัดการกับอาการเหนื่อยล้า ได้แก่ การเข้านอนเร็ว การหากิจกรรมทำเพื่อให้ยุ่ง มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับต่ำกับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งเต้นนมที่ได้รับเคมมีบำบัด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) 5. กลยุทธ์ในการจัดการกับอาการซึมเศร้า ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด | en |
dc.description.abstractalternative | To study symptom clusters, symptom management strategies, social support, and quality of life in breast cancer patients undergoing chemotherapy and the relationships between symptom clusters, symptom management strategies, social support, and quality of life in breast cancer patients undergoing chemotherapy. The theoretical framework based on symptom management model of Dodd et al. (2001). One hundred fifty breast cancer patients undergoing chemotherapy were recruited by using simple random sampling from the Out-Patients Department of Mahavajiralongkorn Cancer Center, Ramathibodi Hospital. The instruments were a pain scale, piper fatigue scale, insomnia severity index, beck depression inventory, social support questionnaires, self-care diary, and quality of life. Cronbach's alpha coefficients of all instruments were .96, .95, .89, .93, .91, .25, .36, .32,and .43, respectively. Data were analyzed using mean, standard deviation, Pearson's product moment correlation and Eta's correlation. Major findings were as follows 1. Breast cancer patients undergoing chemotherapy had perceived quality of life at a high level (Mean = 66.43, SD=13.94). 2. Symptom clusters were significantly negative related to quality of life (r = -.449, p<.05). 3. Social support was significantly positive related to quality of life (r = .201, p<.05.) 4. Self-care strategies for pain, insomnia, and fatigue were significantly negative related to quality of life (p<.05). 5. Self-care strategies for depression were not related to quality of life. | en |
dc.format.extent | 1633161 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | เต้านม -- มะเร็ง -- การรักษา | en |
dc.subject | เต้านม -- มะเร็ง -- ผู้ป่วย | en |
dc.subject | เคมีบำบัด | en |
dc.subject | คุณภาพชีวิต | en |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอาการ กลยุทธ์ในการจัดการกับอาการ การสนับสนุนทางสังคม กับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด | en |
dc.title.alternative | Relationships between symptom clusters, symptom management strategies, social support,and quality of life in breast cancer patients undergoing chemotherapy | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | พยาบาลศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Sureeporn.T@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Nurse - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Masubol_Wo.pdf | 1.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.