Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67037
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรีชา ช้างขวัญยืน-
dc.contributor.authorอภิวัฒน์ อรัญภูมิ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-07-14T03:31:45Z-
dc.date.available2020-07-14T03:31:45Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741423993-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67037-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548-
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความเชื่อ แนวคิด ความศรัทธา ของชาวไทยที่นับถือศาสนาพุทธที่มีต่อพระเครื่อง ในด้านความสอดคล้องหรือขัดแย้งกับหลักคำสอน ของพระพุทธศาสนา รวมถึงศึกษาบทบาทของพระเครื่องต่อสังคมไทยที่เกี่ยวโยง และมีผลกระทบต่อพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน โดยศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา และนำมาวิเคราะห์กับสภาพการณ์ของสังคมไทยในปัจจุบัน ร่วมกับข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม ในการสำรวจภาคสนาม โดยการวิจัยจากกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม อันได้แก่ กลุ่มผู้จำหน่ายพระเครื่องและผู้นิยมสะสมพระเครื่อง กลุ่มพระภิกษุ-สามเณร และกลุ่มพุทธศาสนิกชน-ประชาชนทั่วไป ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ นับถือพระเครื่องว่า เป็นสัญลักษณ์และวัตถุมงคลทางศาสนา แต่ด้านความเชื่อในการนับถือมีความแตกต่างกันออกไป ส่วนหนึ่งเชื่อว่าสามารถอธิษฐานอ้อนวอนขอในความศักดิ์สิทธิ์ของพระเครื่อง เพื่อให้มีโชคลาภ เมตตามหานิยมหรือมีอิทธิฤทธิ์-ปาฎิหาริย์ คุ้มครองให้ปลอดภัยได้ ซึ่งเป็นความเชื่อที่ไม่สอดคล้องกับหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา และพบว่าพระเครื่องมีบทบาทและอิทธิพลต่อการนับถือพระพุทธศาสนาในรูปแบบต่าง ๆ กัน เช่น การใช้เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวทางใจ เพื่อให้ระลึกถึงพระรัตนตรัยเพื่อให้ระลึกถึงคำสอนของพระพุทธศาสนา เป็นต้น และยังพบว่าปัจจุบัน พระเครื่องถูกนำมาใช้เป็นสินค้า มีการซื้อขายในตลาดและแวดวงผู้นิยมพระเครื่องอย่างแพร่หลาย ซึ่งเรียกสภาวะการณ์เช่นนี้ว่า "พุทธพานิชย์" และมีการขยายตัวอย่างกว้างขวางในทุกระดับสังคมของไทย-
dc.description.abstractalternativeThis thesis aimed to study the belief, concept, and faith of Thai Buddhists towards Buddhist votive tablets on the consistency with or the contrary to the Buddhism principles and to study the roles of Buddhist votive tablets on Thai society that were related to and affected Buddhism currently by studying the related information from Buddhism principles and analyzing with the Thai society's present circumstances together with information obtained from questionnaire in field survey. The research was done by involving three groups of sample that were the Buddhist votive tablet's sellers and collectors, the Buddhist monks-novices, and Thai Buddhists. It was found from the research that most of the sample considered the Buddhist votive tablets as the symbol and religious, auspicious objects; the beliefs in religion were different. Some believed that they could make a wish or request for fortune, they believed in miraculous power that could make them safe from various dangers; these were beliefs that were not consistent with the Buddhism principles. Also, it was found that Buddhist votive tablets played roles and influenced in believing in Buddhism in various forms; for example, it was the thing to mentally resort to in order to recall the triple gems (Buddha's teachings), to recall the Buddhism principle. And it was found that currently, Buddhist votive tablets were used as the products; they were widely traded in the market among those who like the Buddhist votive tablets; this situation was called "commercial Buddhism"; such situation appeared widely in all level of Thai society.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectพระเครื่อง-
dc.subjectพุทธศาสนา -- ไทย-
dc.subjectBuddhism -- Thailand-
dc.titleพระเครื่องกับพระพุทธศาสนาในประเทศไทยปัจจุบัน-
dc.title.alternativeBuddhist votive tablets and Buddhism in contemporary Thailand-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineพุทธศาสน์ศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorPreecha.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Apiwat_ar_front_p.pdf944.37 kBAdobe PDFView/Open
Apiwat_ar_ch1_p.pdf908.89 kBAdobe PDFView/Open
Apiwat_ar_ch2_p.pdf4.42 MBAdobe PDFView/Open
Apiwat_ar_ch3_p.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Apiwat_ar_ch4_p.pdf1.79 MBAdobe PDFView/Open
Apiwat_ar_ch5_p.pdf902.74 kBAdobe PDFView/Open
Apiwat_ar_back_p.pdf2.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.