Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67180
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ดุษลักษณ์ ฐิติวร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-07-21T08:59:51Z | - |
dc.date.available | 2020-07-21T08:59:51Z | - |
dc.date.issued | 2543 | - |
dc.identifier.issn | 9741302223 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67180 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาประสิทธิภาพการดูดดึงสารหนูจากดินของหญ้าแฝก 2 ชนิด คือแฝกหอม Vetiveria zizanioides (Linn.) Nash กลุ่มพันธุ์สุราษฎร์ธานี และแฝกดอน Vetiveria nemoralis (Balansa) A. Camus กลุ่มพันธุ์ประจวบคีรีขันธ์ ในกระถางทดลองที่ใส่สารประกอบ Na2HAsO4•7H20 ลงในดินที่ระดับความเข้มข้น 0 50 75 100 125 และ 150 มิลลิกรัมสารหนู/กิโลกรัมดินนาหนักแห้ง ทำการทดลองที่ระยะเวลา 15 30 45 60 75 และ 90 วัน จากการศึกษาการเจริญเติบโตโดยนับจำนวนต้นต่อกอ วัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางกอ ความสูง และ ชั่งน้ำหนัก พบว่าหญ้าแฝกกลุ่มพันธุ์สุราษฎร์ธานีมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางกอและจำนวนต้นต่อกอมากกว่า ในขณะที่กลุ่มพันธุ์ประจวบคีรีขันธ์มีความสูงและน้ำหนักแห้งมากกว่า และ หญ้าแฝกมีอัตราการอยู่รอดร้อยละ 100 ของหญ้าแฝกที่ปลูกทั้งหมด โดยการเจริญเติบโตของหญ้าแฝกในกระถางควบคุมซึ่งไม่ได้ใส่สารหนูลงในดินเมื่อเปรียบเทียบกับกระถางทดลองที่มีการใส่สารหนูลงในดินที่ระดับต่างๆ ไม่มีความแตกต่างกันในทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ (P>0.05) ทั้ง 2 กลุ่มพันธ์ นอกจากนี้ในการศึกษาการสะสมสารหนูในส่วนใบและส่วนรากของหญ้าแฝก พบว่าหญ้าแฝกทั้ง 2 กลุ่มพันธุ์สะสมสารหนูไวในส่วนรากมากกว่าส่วนใบกับลำต้น โดยกลุ่มพันธุสุราษฎร์ธานีสะสมในปริมาณที่มากกว่า และจากการศึกษาประสิทธิภาพการดูดดึงสารหนูโดยคิดเป็นร้อยละเทียบกับปริมาณสารหนูที่ใส่ลงในดิน พบว่ามีค่าเพิ่มขึ้นตามระยะเวลาการปลูกที่นานขึ้นทั้ง 2 กลุ่มพันธุ์ โดยกลุ่มพันธุ์สุราษฎร์ธานีมีค่าประสิทธิภาพสูงสุดที่ระยะเวลา 90 วันในกระถางที่มีระดับความเข้มข้นของสารหนูในดิน 75 มิลลิกรัม สารหนู/กิโลกรัมดินนำหนักแห้งเท่ากับร้อยดะ 0.0488 ของปริมาณสารหนูทั้งหมดในดิน ในขณะที่กลุ่มพันธุ์ประจวบคีรีขันธ์มีค่าสูงสุดที่ระยะเวลา 90 วันในกระถางที่มีระดับความเข้มข้นของสารหนูในดิน 125 มิลลิกรัมสารหนู/กิโลกรัมดินนี้าหนักแห้งเท่ากับร้อยละ 0.0398 ของปริมาณสารหนูทั้งหมดในดิน | - |
dc.description.abstractalternative | Efficiency of arsenic removal from contaminated soil by two species of vetiver grasses, Vetiveria zizanioides (Linn.) Nash [Surat Thani ecotype] and Vetiveria nemoralis (Balansa) A. Camus [Prachuabkirikhan ecotype] was studied in difference concentration of arsenic ; 0 50 75 100 125 and 150 mgAs/kg soil dry weight, by disodium hydrogen arsenate (Na1HAs04•7H20). The growth ability; number of plants per clump, diameter of clump, height and dry weight were recorded every 15 days, on 6 consecutive occasions over a 90 day-trial period. It was found that growth of both species were not affected by arsenic (p>0.05). In addition, Vetiveria zizanioides (Linn.) Nash had number of plants per clump and diameter of clump higher than of Vetiveria nemoralis (Balansa) A. Camus. In contrast, the height and dry weight of Vetiveria nemoralis (Balansa) A. Camus was higher than of Vetiveria zizanioides (Linn.) Nash. Accumulation of arsenic in roots was higher than in leaves. Amount of arsenic accumulation in Vetiveria zizanioides (Linn.) Nash was more than in Vetiveria nemoralis (Balansa) A. Camus. In addition, arsenic removal efficiency by two species increased by exposed time . The highest efficiency of Vetiveria zizanioides (Linn.) Nash was 0.0488 %, at experimental time of 90 days in treatment of 75 mgAs/kg soil dry weight, and the highest efficiency of Vetiveria nemoralis (Balansa) A. Camus was 0.0398 %, at experimental time of 90 days in treatment of 125 mgAs/kg soil dry weight. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | สารหนู | - |
dc.subject | หญ้าแฝก | - |
dc.subject | การบำบัดโดยพืช | - |
dc.subject | Arsenic | - |
dc.subject | Vetiver | - |
dc.subject | Phytoremediation | - |
dc.title | ประสิทธิภาพของแฝกหอม Vetiveria zizanioiders (Linn.) Nash และ แฝกดอน Vetiveria nemoralis (Balansa) A. Camus ในการกำจัดสารหนูที่ปนเปื้อนในดิน | - |
dc.title.alternative | Efficiency of arsenic removal from soil by Vetiveria zizanioides (Linn.) Nash and Vetiveria nemoralis (Balansa) A. Camus | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา) | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Dusaluk_dh_front_p.pdf | 935.82 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Dusaluk_dh_ch1_p.pdf | 665.32 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Dusaluk_dh_ch2_p.pdf | 1.44 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Dusaluk_dh_ch3_p.pdf | 761.47 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Dusaluk_dh_ch4_p.pdf | 2.18 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Dusaluk_dh_ch5_p.pdf | 696.21 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Dusaluk_dh_back_p.pdf | 1.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.