Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67421
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยโชค จุลศิริวงศ์-
dc.contributor.advisorประทุมพร วัชรเสถียร-
dc.contributor.authorประพีร์ อภิชาติสกล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-08-13T01:59:00Z-
dc.date.available2020-08-13T01:59:00Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741740085-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67421-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractจากการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกรณีของวิกฤตการณ์โคโซโว ค.ศ.1998 และกรณีวิกฤตการณ์อิรัก ค.ศ.2003 แล้วพบว่าทั้งสองกรณีนั้นสหประชาชาติไม่สามารถเข้าไปจัดการในลักษณะเป็นผู้ยับยั้ง หรือแก้ไขปัญหาได้ สหประชาชาติมีบทบาทเพียงการเข้าไปจัดการด้านการให้ความช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรมภายหลังเหตุการณ์ความขัดแย้งได้สิ้นสุดลงแล้วเท่านั้น บทบาทสำคัญในการจัดการกับวิกฤต การณ์ทั้งสองเหตุการณ์กลับกลายเป็นสหรัฐอเมริกาที่ใช้ความเป็นอภิมหาอำนาจของตนเองในด้านการ ทหารเข้าไปจัดการกับปัญหาดังกล่าวอันเป็นการดำเนินนโยบายฝ่ายเดียว โดยใช้ข้ออ้างที่จะสร้างความชอบธรรมให้ตนเองในการเข้าไปแทรกแซงการปฏิบัติการทางทหารของสหรัฐอเมริกานั้นไม่ได้รับการเห็นชอบจากสหประชาชาติแต่อย่างใด และเป็นการกระทำที่ฝ่าฝืนกฎบัตรสหประชาชาติ และทำลายระบอบการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศของสหประชาชาติ ดังนั้นสหประชาชาติจึงจำเป็นต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแก้ไขบทบาทของตนให้เป็นศูนย์กลางด้านการรักษาสันติภาพ และความมั่งคงระหว่างประเทศ สหประชาชาติต้องปรับเปลี่ยนบทบาทของตนเพื่อเข้าไปจัดการกับปัญหาความขัดแย้งระหว่างประเทศให้รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากขึ้น หากสหประชาชาติยังคงใช้ระบอบการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศด้วยรูปแบบเก่าในโลกใบใหม่แล้ว สหประชาชาติอาจจะต้องพบกับอุปสรรค และเผชิญกับปัญหาใหม่ที่ไม่คาดคิดมาก่อน และเมื่อสหประชาชาติอยู่ในสภาพที่ไม่สามารถเข้าไปจัดการแก้ไขปัญหาได้ และปล่อยให้ประเทศต่างๆเข้าจัดการแก้ไขปัญหาด้วยตนเองแล้วก็จะส่งผลให้เกิดเป็นความเสียหายที่รุนแรงตามมาในสังคมระหว่างประเทศได้en_US
dc.description.abstractalternativeA comparative study of the Kosovo Crisis in 1998 and the Iraq Crisis in 2003, has shown that in both cases the United Nations was not able to stop or solve the problems. Its roles involved merely with the management of humanitarian assistance after the end of the crisis. The situation turned to be that the United States of America, by means of its super military power, attempted to solve the crisis. However, the U.S.'s implementation of its policy was unilateral, claiming its legitimacy in its intervention into the crisis. The U.S.'s military operations were by no means approved by the U.N. They were considered as violating the U.N.'s charters and destroying the international peacekeeping and security system. For this reason, the U.N. needs to change and improve its roles so as to establish itself as the center of international peace and security. It has to adjust its roles in order to be able to solve international conflicts more quickly and in a more efficient manner. If the U.N. still uses the traditional way in international peacekeeping and security in the new world, it may have to face obstacles and confront with unexpected problems. When the U.N. is left in the condition where it can not deal with problems and gives the chance to other countries to intervene, this will result in more serious damages to international communities.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสหประชาชาติ -- กองกำลังรักษาสันติภาพen_US
dc.subjectการระงับข้อพิพาทen_US
dc.subjectสงครามอิรัก, ค.ศ. 2003-2011en_US
dc.subjectสงครามโคโซโว, ค.ศ. 1999en_US
dc.subjectกองกำลังรักษาสันติภาพen_US
dc.subjectองค์การระหว่างประเทศen_US
dc.subjectความมั่นคงระหว่างประเทศen_US
dc.subjectUnited Nations -- Peacekeeping forcesen_US
dc.subjectDispute resolution (Law)en_US
dc.subjectIraq war, 2003en_US
dc.subjectKosovo War, 1998-1999en_US
dc.subjectPeacekeeping forcesen_US
dc.subjectInternational agenciesen_US
dc.subjectSecurity, Internationalen_US
dc.titleสหประชาชาติกับการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ : ศึกษาเปรียบเทียบกรณีวิกฤตการณ์โคโซโว ค.ศ. 1998 และกรณีวิกฤตการณ์อิรัก ค.ศ. 2003en_US
dc.title.alternativeThe UN roles in the maintenance of international peace and security : a comparative study of the Kosovo crisis (1998) and the Iraq crisis (2003)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineรัฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChayachoke.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorPrathoomporn.V@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prapee_ap_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ900.45 kBAdobe PDFView/Open
Prapee_ap_ch1_p.pdfบทที่ 11.48 MBAdobe PDFView/Open
Prapee_ap_ch2_p.pdfบทที่ 22.86 MBAdobe PDFView/Open
Prapee_ap_ch3_p.pdfบทที่ 32.36 MBAdobe PDFView/Open
Prapee_ap_ch4_p.pdfบทที่ 42.77 MBAdobe PDFView/Open
Prapee_ap_ch5_p.pdfบทที่ 52.87 MBAdobe PDFView/Open
Prapee_ap_ch6_p.pdfบทที่ 63.94 MBAdobe PDFView/Open
Prapee_ap_ch7_p.pdfบทที่ 71.65 MBAdobe PDFView/Open
Prapee_ap_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก3.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.