Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67474
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorหรรษา ปุณณะพยัคฆ์-
dc.contributor.advisorสุชาติ ชนะมา-
dc.contributor.authorบัณฑิต บุญทา, 2521--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-08-14T04:27:25Z-
dc.date.available2020-08-14T04:27:25Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.issn9741423195-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67474-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractการผลิตแลคเคสจากเชื้อรา Gamoderma lucidun ทั้ง5 สายพันธุ์ ได้แก่ SP5 CHEM KKU 1 KC 3 และ BOT พบว่า G.lucidum สายพันธุ์ CHEM มีการผลิตแลคเคสดีที่สุด ภาวะที่เหมาะสมต่อ การผลิตแลคเคสในอาหารสูตร Production ปริมาตร 100 มิลลิกรัม พบว่า มีการผลิตแลคเคสดีที่สุด (0.007 ยูนิตต่อมิลลิกรัมโปรตีน) เมื่อมีการเติม Cu²⁺ 0.4 มิลลิโมลาร์ และตัวยึดเกาะที่เป็นฟองน้ำ ขนาด 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร จำนวน 50 ชิ้น ลงในอาหาร เป็นระยะเวลา 4 วัน ที่อุณหภูมิ 30 องศา เซลเซียส ความเร็วรอบของการเขย่า 150 รอบต่อนาที เมื่อนำเอนไซม์ที่ผลิตได้สามารถนำไปทำให้ บริสุทธิ์บางส่วนด้วยการอัลตราฟิวเตชัน ตกตะกอนด้วยเกลือแอมโมนียมซัลเฟตที่ความเข้มข้น อิ่มตัว 50 - 80 เปอร์เซนต์ และทำไอออนเอกเชนจ์โครมาโทร-กราฟีที่มีคอลัมน์เป็น HiTrap DEAE Sepharose Fast Flow สามารถแยกแลคเคสได้ มีความบริสุทธิ์เพิ่มขึ้น 20.574 เท่า มีผลผลิตเอนไซม์ 2.787 เปอร์เซนต์ มีค่าแอคติวิตี 0.144 ยูนิตต่อมิลลิกรัมโปรตีนตามลำดับ เมื่อศึกษาถึงภาวะที่ เหมาะสมต่อการทำงานของเอนไซม์ พบว่า ทำงานได้ดีที่ความเป็นกรดด่าง เท่ากับ 45 เมื่อใช้ โซเดียมอะซิเตตบัฟเฟอร์ อุณหภูมิ 50 องศาเซลซียส การนำแลคเคสไปประยุกต์ใช้ในการเปลี่ยน โครงสร้งทางชีวภาพของสารผสม Polycyclic Aromatic Hydrocarbons (PAHs) ทั้ง 16 ชนิด (16 US.EPA) พบว่า แลคเคสที่ผลิตได้สามารถลดปริมาณสารประกอบ PAHs ลงได้ โดยใช้แลคเคสที่ ผ่านการทำให้บริสุทธิ์บางส่วนด้วยไอออนเอกเชนจ์โครมาโทรกราฟี พบว่า สารประกอบ PAHs นี้ จะถูกย่อยสลายได้ถึง 62.34 เปอร์เซนต์ โดย Naphthalen, acenaphthylene phenanthrene flourene acenaphthene anthracene fluoranthene pyrene และ benzo[b]fluoranthene มีอัตราการถูกย่อยสลาย ได้มาก (มากกว่า 50 เปอร์เซนต์) ในขณะที่ dibenzo [a,h]anthracene indeno [1,2,3-cd] pyrene Berzo[a]Janthraccne benzo[k]fluoranthene และ berzo [a]pyrene มีอัตราการย่อยสถายที่ (น้อยกว่า 50 เปอร์เซนต์)-
dc.description.abstractalternativeGanodrma lucidum strains SPS, CHEM, KKU 1, KC 3, and BOT were used to produce laccase. The maximum enzyme was observed by G. lucidum CHEM (0.007 U/mg). The optimum conditions for these fungi in 100 ml Production medium containing 0.4 mM Cu ²⁺ and 1 cm³ sponge 50 pieces. They were cultivated at 30℃, 150 rpms for 4 days. Enzyme was purified by ultrafiltration, 50-80% ammonium sulphate precipitation, and Ion-exchanged chromatography on HiTrap DEAE Sepharose Fast Flow. After that, one peak laccase was separated. It have the activity increased 20.574 fold and enzyme yield value 2.787 % and 0.144 u/mg protein Optimum conditions for laccase activities was studied. Laccase have the highest activity at sodium acetate buffer pH 4.5, temperature 50 ℃. Application of these laccase for 16 mixture PAHS (16 US.EPA) remediation, these PAHs shown 62.34% total degradation by laccase with partial purified by Ion- exchanged chromatography. Naphthalene, acenaphthylene, phenanthrene, flourene, acenaphthene, anthracene, fluoranthene, pyrene, and benzo[b]fluoranthene shown high % degradation rate (more than 50%). While dibenzo[a,h]anthracene, indeno[1,2,3-cd]pyrene benzo[a]anthracene, benzo[k]fluoranthene, and benzo[a]pyrene show low % degradation rate (less than 50%) by partial purified laccase.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการย่อยสลายทางชีวภาพen_US
dc.subjectโพลิไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนen_US
dc.subjectเห็ดหลินจือen_US
dc.subjectBiodegradationen_US
dc.subjectPolycyclic aromatic hydrocarbonsen_US
dc.subjectGanoderma lucidumen_US
dc.subjectLaccaseen_US
dc.titleการผลิตแลคเคสจาก Ganoderma sp. เพื่อใช้ในการย่อยสลายทางชีวภาพของ Polycyclic aromatic hydrocarbonsen_US
dc.title.alternativeProduction of laccase form Ganoderma sp. for the biodegradation of polycyclic aromatic hydrocarbonsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorHunsa.P@Chula.ac.th,phunsa@chula.ac.th-
dc.email.advisorSuchart.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bundit_bo_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.13 MBAdobe PDFView/Open
Bundit_bo_ch1_p.pdfบทที่ 1722.79 kBAdobe PDFView/Open
Bundit_bo_ch2_p.pdfบทที่ 22.45 MBAdobe PDFView/Open
Bundit_bo_ch3_p.pdfบทที่ 31.05 MBAdobe PDFView/Open
Bundit_bo_ch4_p.pdfบทที่ 41.64 MBAdobe PDFView/Open
Bundit_bo_ch5_p.pdfบทที่ 5909.95 kBAdobe PDFView/Open
Bundit_bo_ch6_p.pdfบทที่ 6729.61 kBAdobe PDFView/Open
Bundit_bo_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.