Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67555
Title: | Determinants of Export Success : the case of Thai food industry |
Other Titles: | ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการส่งออกสินค้า ในกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทย |
Authors: | Ravadee Surisrabhan |
Advisors: | Pakpachong Vadhanasindhu Achara Chandrachai |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Commerce and Accountancy |
Subjects: | International trade Export controls Food industry and trade -- Thailand การควบคุมสินค้าขาออก การค้าระหว่างประเทศ อุตสาหกรรมอาหาร -- ไทย |
Issue Date: | 1999 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | International trade governs world economic growth. Nations are becoming economic interdependence with other nations through complex flow of goods, capital, and technology. Export has become an important component of Thai economy. The proportion of export to the country’s GDP has been higher than 30 percent since 1994. Loss in international competitiveness of Thai products reflected in negative growth in export, which is one of the factors lead to the country’s economic crisis. It is necessary to enhance and upgrade export products in order to secure Thailand’s position in international market, so to achieve economic stability and growth. The objectives of this study were (1) to verify the applicability of Porter’s Competitive Advantage of Nations Model in explaining the export success of Thai food industry, (2) to identify the extent to which the attributes of Diamond Model contribute to the level of export success of Thai food industry, (3) to identify other factors governing the export success of Thai food industry, and (4) to suggest means to improve export performance of Thai food industry. The scope of the study was to analyse companies’ export performance, export performance attributes, and external environment effecting the export performance. The conceptual framework was developed from Porter’s Diamond Model. The four attributes studied were (i) factor conditions, (ii) demand conditions, (iii) company’s strategy, structure, and rivalry, and (iv) related and supporting industries. The two external environment factors were chance events, and government roles and policies. The study empirically obtained and analysed data through a designed questionnaire. Sampling frame was food exporting companies in Thailand listed in the Kompass Direct for Food and Beverage g e 1998. There were 135 usable returned questionnaire. Response rate was 12.47 percent of the total population. The study shown factors contribute to the Thai food export success were factor conditions, company's structure and strategy, and related and supporting industries. Domestic market conditions, include both demand condition and competitive level, were not directly related to export performance. Respondents viewed basic factors, raw material and labor attributes as more important than company’s strategy, and advanced factors which were human resources and production and technology attributes. The data analysis shown important attributes were company’s human resources, production and technology, and followed by company's strategy. The findings suggest that export companies should improve short-term performance through strategies related to sales plan, customer plan, and quantity and quality control. More attentions should be concentrated on creating long-term competitiveness. Effort should be put on human resources development through building strong R&D personnel, improve employees’ competencies, and provide employees’ training. Investments are required on production and technology through product technology development and product innovation. Government supports are required through institutional R&D supports in food production, process, and productivity improvement projects. Government should also provide production and trade information on both domestic and international market. The study also suggests ideas for further research in the area. |
Other Abstract: | การค้าระหว่างประเทศเป็นปัจจัยควบคุมความเจริญของเศรษฐกิจโลก ประเทศต่าง ๆ จำเป็นต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับเศรษฐกิจของชาติอื่น ๆ โดยอาศัยความเคลื่อนไหวทางสินค้า เงินทุน เทคโนโลยีและธุรกิจ สินค้าส่งออกได้กลายเป็นส่วนสำคัญของเศรษฐกิจไทย โดยที่สัดส่วนของสินค้าส่งออกต่อผลิตผลมวลรวมประชาชาติ ของประเทศมีอัตราสูงกว่า ร้อยละ 30 ตั้งแต่ปี ค.ศ.1994 เป็นต้นมา การที่สินค้าไทยมีความเสียเปรียบทางด้านทารแข่งขันกับสินค้าจากต่างประเทศทำให้การเพิ่มขึ้นของการส่งออกอยู่ในอัตราที่ลดลง ซึ่งเป็นผลให้เกิดวิกฤติการณ์ด้านเศรษฐกิจของประเทศ พื้นฐานของเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งเกิดจากการปรับปรุงสินค้าให้ดีขึ้น ซึ่งจะทำให้สินค้าไทยสามารถอยู่ในตำแหน่งที่จะแข่งขันกับตลาดนานาประเทศได้ อันจะส่งผลให้เศรษฐกิจมั่นคงและเจริญเติบโต วัตถุประสงค์ของการศึกษา คือ 1) เพื่อทดสอบการใช้ทฤษฎีการไต้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศตามแนวคิดของพอร์ทเตอร์ ในการอธิบายความสำเร็จของการส่งออกของอุตสาหกรรมอาหารไทย 2) เพื่อตัดสินว่าทฤษฎีดังกล่าวสามารถอธิบายความสำเร็จของการส่งออกของอุตสาหกรรมอาหารไทยได้ในระดับใด 3) เพื่อค้นหาปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อความสำเร็จในการส่งออกของอุตสาหกรรมอาหารไทย และ 4) เพื่อเสนอแนะวิธีการปรับปรุงการดำเนินงานของธุรกิจในอุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทย ขอบเขตของการศึกษาคือ เพื่อวิเคราะห์ผลประกอบการในการส่งออกของบริษัท ปัจจัยที่มีผลต่อการประกอบการ และปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกที่มีผลต่อการประกอบการในการส่งออก แนวความคิดในการศึกษานี้ถูกพัฒนามาจากทฤษฎีข้างต้น การศึกษานี้วิเคราะห์ปัจจัยทั้งสี่ประการคือ 1) สภาพของปัจจัยประกอบ 2) สภาพอุปสงค์ 3) กลยุทธ์โครงสร้างและคู่แข่งของบริษัท และ 4) อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง และสนับสนุน ตลอดจนปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกสองประการคือ เหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด และนโยบายและบทบาทของรัฐบาล การศึกษานี้ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามที่ได้รับจากผู้บริหารกิจการส่งออกอาหารในประเทศไทย กลุ่มศึกษาประกอบด้วย135 บริษัทในอุตสาหกรรมส่งออกอาหารในประเทศไทย คิดเป็นร้อยละ 12.47 ของจำนวน แบบสอบถามที่ได้ส่งออกไป การศึกษานี้สรุปปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการส่งออกอาหารไทยว่า คือ สภาพปัจจัย กลยุทธ์ของบริษัท และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องและสนับสนุนสภาพเงื่อนไขตลาดในประเทศอันหมายถึงสภาพความต้องการและสภาพการแข่งขันไม่มีผลต่อความสำเร็จในการส่งออก ผู้ตอบแบบสอบถามเชื่อว่าปัจจัยพื้นฐาน คือ วัตถุดิบและแรงงาน มีความสำคัญต่อผลประกอบการการส่งออกมากกว่ากลยุทธ์ของบริษัท และปัจจัยขั้นสูงได้แก่ทรัพยากรบุคคลและ การผลิตและเทคโนโลยี ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติแสดงว่า ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการประกอบการการส่งออก เริ่มจากทรัพยากรบุคคล ตามด้วยการผลิตและเทคโนโลยี และกลยุทธ์ของบริษัท ผลการศึกษาสรุปว่า บริษัทส่งออกควรปรับปรุง และพัฒนาความสามารถในการส่งออกระยะสั้น ด้วยการใช้กลยุทธ์ที่เกี่ยวกับการวางแผนเพิ่มยอดขาย การวางแผนเพิ่มลูกค้า การบริการ การควบคุมปริมาณ และการควบคุมคุณภาพ บริษัทควรมุ่งเน้นการสร้างความสามารถในการแข่งขันระยะยาว โดยการพัฒนาบุคลากรทางด้านการวิจัยและพัฒนาสินค้า การเพิ่มความลามารถของบุคลากร และจัดการฝึกอบรมบุคลากร บริษัทควรมีการลงทุนในด้านการผลิต และเทคโนโลยีการผลิต โดยการปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิต และนวัตกรรมการผลิต รัฐบาลสามารถเพิ่มศักยภาพให้บริษัทส่งออกอาหารด้วยการสนับสนุนผ่านสถาบันที่เกี่ยวข้องในการทำวิจัยและพัฒนาในด้านการผลิตอาหาร ขบวนการผลิตอาหาร การพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลการผลิต รัฐบาลควรเป็นแหล่งข้อมูลด้านการผลิต และการค้า สำหรับทั้งตลาดภายในประเทศและตลาดต่างประเทศ การวิจัยครั้งนได้เสนอความคิดสำหรับงานวิจัยในอนาคตเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวด้วย |
Description: | Thesis (D.B.A.)--Chulalongkorn University, 1999 |
Degree Name: | Doctor of Business Administration |
Degree Level: | Doctoral Degree |
Degree Discipline: | Business Administration |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67555 |
ISBN: | 9743338896 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Acctn - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ravadee_su_front_p.pdf | 989.95 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ravadee_su_ch1_p.pdf | 878.07 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ravadee_su_ch2_p.pdf | 1.65 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ravadee_su_ch3_p.pdf | 835.08 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ravadee_su_ch4_p.pdf | 805.47 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Ravadee_su_ch5_p.pdf | 1.94 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ravadee_su_ch6_p.pdf | 1.33 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Ravadee_su_back_p.pdf | 1.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.