Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67601
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประณัฐ โพธิยะราช-
dc.contributor.authorธิดารัตน์ ลิมปิติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-08-19T06:25:19Z-
dc.date.available2020-08-19T06:25:19Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741736399-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67601-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractผลิตภัณฑ์เพตในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งที่เป็นขวดน้ำดื่ม ผ้า T/C (ผ้าพอลิเอสเทอร์ที่มีฝ้ายเป็นองค์ประกอบ) และผ้าพอลิเอสเทอร์ ถูกนำมาย่อยสลายร่วมกันโดยกระบวนการไกลโคลิซิสในโพรพิลีน ไกลคอลมากเกินพอที่อุณหภูมิ 190 องศาเซลเซียส โดยมีซิงก์อะซีเตตเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา พบว่า ไกลโคไลซ์โพรดักส์ที่ได้จากการย่อยสลายมีน้าหนักโมเลกุลเฉลี่ยโดยจำนวนอยู่ในช่วง 546-733 และมีค่าความหนืดอยู่ในช่วง 800-880 เซนติพอยส์ ไกลโคไลซ์โพรดักส์ที่ได้สามารถทำปฏิกิริยากับ มาเลอิกแอนไฮไดรด์และผสมกับสไตรีนมอนอเมอร์เกิดเป็นพอลิเอสเทอร์เรซินชนิดไม่อิ่มตัวหรือยูพีอี นำยูพีอีที่สังเคราะห์ได้มาปรับปรุงสมบัติด้วยการผสมยูพีอีทางการค้าที่สัดส่วนโดยน้ำหนักต่าง ๆ ตั้งแต่ 0-100 เปอร์เซ็นต์ จากนั้นทำให้แข็งตัวด้วยเมทิลเอทิลคีโตนเปอร์ออกไซด์และโคบอลต์ออกโตเอต นำ ชิ้นงานที่ได้มาทดสอบสมบัติเชิงกลและสมบัติทางความร้อน จากการวิจัยพบว่าพอลิเอสเทอร์ที่สังเคราะห์ได้จากไกลโคไลซ์โพรดักส์มีความแข็ง ความทนแรงกระแทกและความทนแรงดัดโค้งใกล้เคียง พอลิเอสเทอร์ทางการค้า และเมื่อผสมยูพีอีสังเคราะห์ด้วยยูพีอีทางการค้าที่สัดส่วนต่าง ๆ พบว่าการ ผสมยูพีอีทางการค้าเข้าไปในยูพีอีสังเคราะห์จะไม่มีผลต่อความแข็งและความทนแรงกระแทก แต่จะทำ ให้ความทนแรงดัดโค้งสูงขึ้นเมื่อปริมาณของยูพีอีทางการค้าเพิ่มขึ้น โดยมีค่าสูงสุดเมื่อมีปริมาณ 60 เปอร์เซ็นต์ ที่ปริมาณยูพีอีทางการค้าที่สูงกว่านี้ความทนแรงดัดโค้งจะลดลงซึ่งเป็นผลเนื่องจากความ เข้ากันไม่ได้ของยูพีอีทั้งสอง นอกจากนี้พบว่ายูพีอีที่สังเคราะห์ได้มีอุณหภูมิการสลายตัวและอุณหภูมิ กลาสทรานซิชันต่ำกว่ายูพีอีทางการค้าen_US
dc.description.abstractalternativePET products in various forms, i.e. post-consumer soft-drink bottles, polyester fabrics, T/C fabrics and their mixtures were depolymerized by glycolysis reaction in the excess of propylene glycol at 190°C in the presence of zinc acetate as a catalyst. It was found that the glycolyzed products possessed a number-average molecular weight range of 546-733 and a viscosity range of 800-880 centipoise. The glycolyzed products were reacted with maleic anhydride and mixed with styrene monomer in order to obtain unsaturated polyester resins or UPEs. These UPEs were mixed with commercial UPE and cured using methyl ethyl ketone peroxide and cobalt octoate. Properties including hardness, impact strength, flexural strength and thermal properties were tested. The results showed that hardness, impact strength and flexural strength of the PET products based UPE were comparable to the commercial UPE. PET products based UPE were mixed with commercial UPE. It was found that hardness and impact strength of mixed resins were slightly altered as comparing to those of the commercial and the prepared resins. Nevertheless flexural strength was improved as the amount of the commercial UPE resin increased. The highest flexural strength was observed when the amount of the commercial resin was 60%. At the larger amount of the commercial UPE flexural strength decreased due to the immiscibility between the two resins. In addition, it was found that the degradation temperature and glass transition temperature of the prepared resin were lower than those of commercial resin.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectขวดพลาสติก -- การนำกลับมาใช้ใหม่en_US
dc.subjectไกลโคไลซิสen_US
dc.subjectโพลิเอสเทอร์en_US
dc.subjectโพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลตen_US
dc.subjectPlastic bottles -- Recycling (Waste, etc.)en_US
dc.subjectGlycolysisen_US
dc.subjectPolyestersen_US
dc.subjectPolyethylene terephthalateen_US
dc.titleการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของผลิตภัณฑ์จากยูพีอีที่ได้จากเพตรีไซเคิลด้วยยูพีอีทางการค้าen_US
dc.title.alternativePhysical property improvement of UPE-recycled pet based product with commercial UPEen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPranut.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thidarat_li_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.01 MBAdobe PDFView/Open
Thidarat_li_ch1_p.pdfบทที่ 1687.15 kBAdobe PDFView/Open
Thidarat_li_ch2_p.pdfบทที่ 21.72 MBAdobe PDFView/Open
Thidarat_li_ch3_p.pdfบทที่ 31.55 MBAdobe PDFView/Open
Thidarat_li_ch4_p.pdfบทที่ 42.95 MBAdobe PDFView/Open
Thidarat_li_ch5_p.pdfบทที่ 5656 kBAdobe PDFView/Open
Thidarat_li_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.