Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67605
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจริต คูณธนกุลวงศ์-
dc.contributor.authorวิษณุ คุณจักร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-08-19T06:42:49Z-
dc.date.available2020-08-19T06:42:49Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741419252-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67605-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractการศึกษาเกี่ยวกับการไหลของน้ำใต้ดินในชั้นน้ำไม่อิ่มตัวมีความสำคัญในการวางแผนการเพาะปลูกและประเมินอัตราการเติมลงสู่น้ำใต้ดิน ในการศึกษานี้ได้ใช้แบบจำลองน้ำใต้ดิน HYDRUS-1D จำลองลักษณะการไหลของน้ำใต้ดินในชั้นน้ำไม่อิ่มตัวและพัฒนาการทดลอง โดยใช้แบบจำลองกายภาพ และทำการทดลองหาคุณสมบัติทางชลศาสตร์ของดินแต่ละชนิดจากการทดลองมาตรฐาน เพื่อนำมาใช้กำหนดค่าพารามิเตอร์ในการคำนวณการไหล การศึกษายังได้ประยุกต์ใช้และเปรียบเทียบผลการคำนวณปริมาณความชื้นในชั้นนไม่อิ่มตัวกับข้อมูลภาคสนาม ในการทดลองจากแบบจำลองกายภาพ ค่าความชื้นเริ่มต้นของดินแต่ละประเภท ให้ค่า ใกล้เคียงกับค่าความจุเก็บกักของดิน (field capacity) และมีความสัมพันธ์กับปริมาณน้าในดิน ตกค้าง (residual water content) ที่ได้จากการทดลองมาตรฐานที่ใช้การอัดความดัน ส่วน ปริมาณน้ำในดินอิ่มตัว ผลการทดลองมาตรฐานมีปริมาณน้ำในดินใกล้เคียงกับผลที่ได้จากการ ทดลองด้วยแบบจำลองกายภาพ ผลการศึกษายังพบว่ารูปแบบความชื้นจะเริ่มจากความชื้น เริ่มต้นและแพร่สู่ความชื้นอิ่มตัว เวลาที่ใช้ในการอิ่มตัวจากการเติมน้ำแบบมีระดับน้ำใต้ดิน เร็ว กว่าการเติมน้ำแบบระดับน้ำคงที่ประมาณ 60-70 % และอัตราคงที่ประมาณ 50-80 % เวลาที่ใช้ในการอิ่มตัวของดินแต่ละชนิดพบว่า ดินทรายใช้เวลาเร็วกว่าดินตะกอนประมาณ 115 เท่า และ มากกว่าดินเหนียวประมาณ 275 เท่า เมื่อนำค่าจากค่าความจุเก็บกักของดินเป็นค่าเริ่มต้นของการคำนวณในการจำลองสภาพการไหลในพื้นที่สนาม พบว่าแบบจำลอง HYDRUS-1D สามารถจำลองสภาพความชื้นในดินได้ดีพอสมควร เวลาที่ใช้ในการอิ่มตัวของดินจากการจำลองโดย HYDRUS-1D มีค่าน้อยกว่าข้อมูลวัดจริงภาคสนามประมาณ 10 % และการจำลองให้ค่าปริมาณน้ำในดินเฉลี่ยน้อยกว่าค่าที่วัดจากในพื้นที่สนามประมาณ 12-14 %en_US
dc.description.abstractalternativeGroundwater flow study in unsaturated zone is important for cultivation planning and groundwater recharge rate estimation. This study used groundwater model HYDRUS-1D to simulate flow in unsaturated zone and conducted developed physical model experiments to compare water content of each soil type and infiltration conditions. Hydraulic properties of each soil type were investigated by the standard experiments to determine parameters to calculate flow. The model was also applied to calculate water content in unsaturated zone in field conditions. From the experiments it was found that the initial water content from physical model are closed to field capacity value of each soil type and related to the residual water content from standard soil water content experiments using pressure. The results also showed that water content pattern started with initial water content and diffused to saturated water content. Time to saturation from infiltration condition with groundwater level is faster than those of constant head results (60-70%) and constant flux results (50-80 %). The time to saturation of sand is faster than those of silt results (115 times) and clay results (275 times). The simulation of groundwater flow in field conditions, using field capacity water content, showed that the HYDRUS-1D model can simulate water content profile fairly well, the time to saturation from model result is slower than field results for 10 % and the simulated average water content is lower than field data for 12-14 %.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำใต้ดินen_US
dc.subjectมาตรอัตราการไหลen_US
dc.subjectGroundwateren_US
dc.subjectFlow metersen_US
dc.titleการจำลองลักษณะการไหลของน้ำใต้ดินในชั้นน้ำไม่อิ่มตัวen_US
dc.title.alternativeModeling of groundwater flow characteristics in unsaturated zoneen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมแหล่งน้ำen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSucharit.K@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Visanu_kh_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ988.14 kBAdobe PDFView/Open
Visanu_kh_ch1_p.pdfบทที่ 11.02 MBAdobe PDFView/Open
Visanu_kh_ch2_p.pdfบทที่ 21.21 MBAdobe PDFView/Open
Visanu_kh_ch3_p.pdfบทที่ 31.88 MBAdobe PDFView/Open
Visanu_kh_ch4_p.pdfบทที่ 42.5 MBAdobe PDFView/Open
Visanu_kh_ch5_p.pdfบทที่ 51.87 MBAdobe PDFView/Open
Visanu_kh_ch6_p.pdfบทที่ 61.51 MBAdobe PDFView/Open
Visanu_kh_ch7_p.pdfบทที่ 7791.35 kBAdobe PDFView/Open
Visanu_kh_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก6.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.