Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67653
Title: การศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดในเรื่องตัวแบบของผู้หญิง ในความสัมพันธ์เชิงอำนาจ : ศึกษากรณีนางมัทรีและนางอมิตดา กับนางรูธและนางเอสเธอร์
Other Titles: A comparative study of the role model of woman in power relations : a case study of Masdi and Amittada and Ruth and Ester
Authors: ธนวัฒน์ พูลสวัสดิ์
Advisors: ไชยันต์ ไชยพร
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.คณะรัฐศาสตร์
Advisor's Email: Chaiyand.C@Chula.ac.th
Subjects: สตรี
สตรีนิยม
สิทธิสตรี
สตรี -- ภาวะสังคม
Women
Feminism
Women's rights
Women -- Social conditions
Issue Date: 2543
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดในเรื่องตัวแบบของผู้หญิงในความสัมพันธ์เชิงอำนาจ เป็นการศึกษาที่ต้องการชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างผู้ชายและผู้หญิง โดยศึกษาตัวแบบของนางมัทรีและนางอมิตตดาในมหาเวสสันดรชาดก และนางรูธและนางเอลเธอร์ในพระคริสตธรรมคัมภีร์ เพื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์เชิงอำนาจของตัวแบบผู้หญิงในมหาเวสสันดรชาดกและในพระคริสตธรรมคัมภีร์ และเพื่อชี้ให้เห็นว่าผู้หญิงนั้นมีอำนาจความงามอยู่กับตัว โดยที่ผู้ชายนั้นก็รู้ถึงการมีอยู่ของอำนาจดังกล่าวของผู้หญิง และพยายาม ที่จะไม่ให้ผู้หญิงนั้นได้ใช้อำนาจความงามต่อผู้ชาย จากการศึกษาพบว่าแนวความคิดในเรื่องความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างผู้ชายและผู้หญิง ที่ปรากฏอยู่ในมหาเวสสันดรชาดกและในพระคริสตธรรมคัมภีร์นั้น มีความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่คล้ายคลึงกัน ความสัมพันธ์แบบแรกเป็นความสัมพันธ์ที่ผู้หญิงนั้นถูกผู้ชายกดขี่ ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ตามแนวบรรทัดฐานของสังคมส่วนความสัมพันธ์อีกแบบเป็นความสัมพันธ์ที่ผู้หญิงสามารถใช้อำนาจความงามที่ตนมีอยู่ ในการต่อรองและควบคุมผู้ชายให้อยู่ภายใต้อำนาจของผู้หญิงไต้
Other Abstract: This is a comparative study of the role model of women in power relations with men. Masdi and Amittada in Mahavessantara-Jataka and Ruth and Ester in the Bible are taken as a case study in this thesis. Also the author intends to examine beauty as power in women themselves and men's responses to the use of beauty as power. From the research, it shows that there is no difference between a way of thinking in respect to power relations between women and men as appeared in both texts. Although women are controlled by men through social norms, however, they can use their own beauty as power to negotiate and control men.
Description: วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Degree Name: รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การปกครอง
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67653
ISSN: 9741301642
Type: Thesis
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tanawat_ph_front_p.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ749.15 kBAdobe PDFView/Open
Tanawat_ph_ch1_p.pdfบทที่ 11.04 MBAdobe PDFView/Open
Tanawat_ph_ch2_p.pdfบทที่ 21.79 MBAdobe PDFView/Open
Tanawat_ph_ch3_p.pdfบทที่ 31.38 MBAdobe PDFView/Open
Tanawat_ph_ch4_p.pdfบทที่ 41.54 MBAdobe PDFView/Open
Tanawat_ph_ch5_p.pdfบทที่ 5992.37 kBAdobe PDFView/Open
Tanawat_ph_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก777.9 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.