Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6767
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชญา นิติวัฒนานนท์-
dc.contributor.authorศันสนีย์ กำธนาทรัพย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-05-01T07:31:52Z-
dc.date.available2008-05-01T07:31:52Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741418264-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6767-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ทำการทดลองในเครื่องฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางและความสูงของไรเซอร์เท่ากับ 5 และ 200 ซม. ตามลำดับ ที่อุณหภูมิและความดันปกติ มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาอุทกพลศาสตร์ของเม็ดแก้ว และเม็ดแก้วที่อยู่ในของผสมระหว่างเม็ดแก้วกับแกลบ ขนาดและความหนาแน่นของเม็ดแก้วเท่ากับ 47 ไมครอนและ 2400 กก. ต่อ ลบ.ม. การวัดความเร็วของอนุภาคทำได้โดยใช้กล้องความเร็วสูงและโปรแกรมวิเคราะห์ภาพ ในส่วนแรกเป็นการทดลองเพื่อหาผลของความเร็วอากาศที่มีต่อรูปแบบการไหลของของแข็งพบว่า ความเร็วอากาศที่ใช้จำแนกรูปแบบการไหลคือ ความเร็วหลุดลอยส่งผ่าน ความเร็วที่ทำให้เกิดคอร์-แอนนูลัส และความเร็วน้อยที่สุดที่ทำให้เกิดนิวเมติก เนื่องจากความเร็วอากาศที่ใช้ในงานวิจัยนี้คือ 7, 8 และ 9 เมตรต่อวินาที ทำให้เม็ดแก้วในไรเซอร์มีรูแบบการไหลเป็นแบบ ฟลูอิไดเซชันความเร็วสูง คอร์-แอนนูลัส และเบดเบาบางแบบสม่ำเสมอตลอดทั้งไรเซอร์ ตามลำดับ ผลการทดลองในส่วนที่ 2 พบว่ามีความสูงเท่ากับ 110 ซม. เมื่อความเร็วอากาศน้อย ความเร็วของเม็ดแก้วมีค่ามากที่สุดบริเวณกึ่งกลางของไรเซอร์และค่อยๆ ลดลงเมื่อเข้าใกล้ผนัง แต่เมื่อเพิ่มความเร็วอากาศให้มากขึ้น ความเร็วของเม็ดแก้วมีค่าใกล้เคียงกันที่ทุกตำแหน่งตามแนวรัศมี และเมื่อใช้แผ่นสีวางหน้าแหล่งกำเนิดแสงเพื่อกำหนดทิศทางการเคลื่อนที่ของเม็ดแก้ว พบว่าเม็ดแก้วที่เคลื่อนที่ลงมีความเร็วคงที่ไม่ขึ้นกับสภาวะที่ใช้ในการทดลอง ผลการทดลองในส่วนสุดท้าย พบว่าความเร็วของเม็ดแก้วที่อยู่ในของผสม ระหว่างเม็ดแกวและแกลบบริเวณส่วนล่างและส่วนกลางไรเซอร์มีค่าต่ำกว่าความเร็ว ของเม็ดแก้วในการทดลองที่ใช้เม็ดแก้วเป็นเบดเพียงอย่างเดียว แต่ที่บริเวณส่วนบนของไรเซอร์พบว่า ความเร็วของเม็ดแก้วในของผสมมีค่าใกล้เคียงกับความเร็วของเม็ดแก้ว ในการทดลองที่ใช้เม็ดแก้วเป็นเบดเพียงอย่างเดียวen
dc.description.abstractalternativeThe research was conducted in a cold flow CFB having diameter and height of riser of 5 and 200 cm., respectively. The objective of this research is to study hydrodynamics of glass beads and of mixture of glass beads and rice husk by mean of particle velocity profile. The glass beads mean diameter was 547 micro while its density was 2400 kg/cb.m. The measurement of particle velocity profiles was achieved by a high speed camera and an image processing software. In part I, the effect of gas velocity on flow pattern in riser, it was found that transport velocity (U [subscript tr]), core-annulus velocity (V [subscript CA]) and minimum pneumatic velocity (V [subscript mp]) could be used to determine the flow regime. For all three gas velocity used, it was found that the flow pattern were fast fluidization, core-annulus and homogeneous dilute bed, respectively. In Part II, at 110 cm from distributor, it was found that at low gas velocity the glass beads velocity existed a maximum at the center of the riser and gradually decreased toward the wall. But at higher gas velocity the velocity of glass beads along radius was slightly different. When a rotating disk was inserted in front of a light source to identify the direction of solid, it was observed that the velocity of solid moving in the downward direction was relatively insensitive to operating conditions. Finally, the results showed that glass beads velocity in the mixture of glass beads and 20% by volume of rice husk was lower than that of without rice husk in the lower and middle part of riser. However, at the top of riser, the glass beads velocities from both conditions were almost identical.en
dc.format.extent3429548 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectฟลูอิไดเซชันen
dc.subjectชลศาสตร์en
dc.subjectการไหลของอากาศen
dc.subjectชีวมวลen
dc.titleผลของอัตราการไหลอากาศต่อโพรไฟล์ความเร็วอนุภาคในฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียนen
dc.title.alternativeEffect of air flowrate on particle velocity profile in a circulating fluidized beden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsuchaya@sc.chula.ac.th, Suchaya.N@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sansanee_Ku.pdf3.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.