Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67685
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุนทินี สุวรรณกิจ-
dc.contributor.authorปาริชาติ พิบูลหิรัญธำรง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-08-24T08:35:25Z-
dc.date.available2020-08-24T08:35:25Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67685-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractในการผลิตกระดาษลอนลูกฟูก ส่วนใหญ่เยื่อที่ใช้ในการผลิตคือเยื่อรีไซเคิลจากระดาษกล่องลูกฟูกเก่า ดังนั้นกระดาษที่ได้จะมีความแข็งแรงลดลง ด้วยเหตุนี้จึงต้องมีการเติมสารเพิ่มความแข็งแรงจำพวกแป้ง ได้แก่แป้งประจุบวก และแป้งแอมโฟเทอริก เพื่อส่งผลให้กระดาามีความแข็งแรงมากขึ้น ในอุตสาหกรรมการผลิตแป้งมันสำปะหลัง พบว่ากากมันสำปะหลังที่ได้ออกมาจากการผลิตแป้ง ยังคงมีแป้งหลงเหลือติดอยู่กับกากอยู่ประมาณร้อยละ 56 ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ที่จะนำกากมันสำปะหลังมาทำการดัดแปรทางเคมีเป็นกากประจุบวกและกากแอมโฟเทอริกเช่นเดียวกับการดัดแปรแป้ง แล้วทดลองใช้เป็นสารเพิ่มความแข็งแรงในกระดาษ โดยในการทดลองจะทำการดัดแปรกากมันสำปะหลังด้วยสารละลาย (3-คลอโร-2-ไฮดรอกซี-โพรพิล) ไตรเมทิล แอมโมเนียม ที่ปริมาณร้อยละ 1, 2, 5 และ 8 ของกาก เพื่อให้ได้กากประจุบวกและส่วนประจุบวกของกากแอมโฟเทอริก และใช้สารละลายโซเดียมไตรโพลีฟอสเฟต ปริมาณร้อยละ 3 ของกาก เพื่อให้ได้ส่วนประจุลบของกากแอมโฟเทอริก นำมาผสมกับเยื่อจากกล่องลูกฟูกเก่า โดยให้มีสัดส่วนของแป้งต่อน้ำหนักกระดาษในปริมาณต่าง ๆ พบว่า กระดาษที่ผสมด้วยกากแอมโฟเทอริกจะให้ความแข็งแรงเชิงกลของกระดาษ ได้แก่ ค่าดัชนีความแข็งแรงต่อแรงดึง ต่าดัชนีความแข็งแรงต่อแรงฉีก ค่าดัชนีความแข็งแรงต่อแรงดันทะลุ และความต้านทานแรงกดลอนลูกฟูกสูงกว่ากระดาษที่ผสมด้วยกากประจุบวก แต่เมื่อเปรียบเทียบระหว่างการใช้แป้งดัดแปรและกากดังแปรเป้นสารเพิ่มความแข็งแรง พบว่าการใช้แป้งดัดแปรจะส่งผลให้กระดาษมีความแข็งแรงมากกว่าการใช้กากดัดแปร อย่างไรก็ตามยังพบว่าการใช้การดัดแปรจะส่งผลให้กระดาษมีค่าความต้านทานแรงกดลอนลูกฟูกสูงกว่ากระดษาภาวะควบคุม คือ กระดาษที่ไม่ได้ใส่สารเพิ่มความแข็งแรงen_US
dc.description.abstractalternativeGenerally, the pulp that is used to produce corrugating medium was recycled pulp from old corrugated container (OCC). This results in lower paper strength. Dry strength agents such as cationic starch and amphoteric starch were thus added to improve the strength of the sheet. In cassava starch industry, the cassava residue from the process still has about 56% starch. This research aimed to modify the cassava residue to cationic cassava residue and amphoteric cassava residue using the same method as the modified starch. In this experiment, (3-chloro-2-hydroxypropyl) trimethyl ammonium was used to provide cationic group on modified cassava residue. The chemical comcentration used was 1, 2, 5 and 8% based on solid weight. Sodiumtripolyphosphate was used to provide anionic group on amphoteric cassava residue in the concentration of 3% based on solid weight. The residue was then mixed with old corrugated container in various ratos. It was found that the paper with amphoteric cassava residue had higher mechanical strength (tensile index, tear index, burst index and flat crush resistance) than the paper with cationic cassava residue. The study also compared the use of modifiedstarch and modified cassava residue as a dry strength agent. The result showed that the paper containing modified starch had higher strength than the paper containing modified cassava residue. However, the paper with modified cassava residue had higher flat crush resistance than the control paper which contained no dry strength agent.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกากมันสำปะหลังen_US
dc.subjectกระดาษลอนลูกฟูกen_US
dc.subjectCassava residueen_US
dc.subjectCorrugated mediumen_US
dc.titleการดัดแปรกากมันสำปะหลังเพื่อใช้เป็นสารเพิ่มความแข็งแรงชนิดแห้งในกระดาษลอนลูกฟูกen_US
dc.title.alternativeModification of cassava residue for use as dry strength agent in corrugating mediumen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKuntinee.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Parichat_pi_front_p.pdf980.27 kBAdobe PDFView/Open
Parichat_pi_ch1_p.pdf682.83 kBAdobe PDFView/Open
Parichat_pi_ch2_p.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open
Parichat_pi_ch3_p.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
Parichat_pi_ch4_p.pdf2.97 MBAdobe PDFView/Open
Parichat_pi_ch5_p.pdf734.51 kBAdobe PDFView/Open
Parichat_pi_back_p.pdf1.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.