Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67697
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุนทินี สุวรรณกิจ-
dc.contributor.authorศุภลักษณ์ โอสถานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-08-25T06:18:40Z-
dc.date.available2020-08-25T06:18:40Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67697-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractกากมันสำปะหลังเป็นวัสดุเหลือทิ้งจากการผลิตแป้งในโรงงานอุตสาหกรรมเป็นปริมาณมากในแต่ละวัน เมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของกากมันสำปะหลัง พบว่ามีเส้นใยเป็นองค์ประกอบประมาณร้อยละ 20 ของน้ำหนัก แห้ง ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ที่จะนำเส้นใยจากกากของมันสำปะหลังมาใช้เป็นวัตถุดิบแทนเยื่อจากไม้ในการผลิตกระดาษอย่างไรก็ตาม กากที่จะนำมาใช้ควรมีคัดชนาดและปรับสภาพเสียก่อน เพื่อให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น งานวิจัยนี้จึงได้ทดลองหาวิธีการที่เหมาะสมในการปรับสภาพการกากมันสำปะหลังเพื่อแทนที่เยื่อรีไซเคิลในการผลิตกระดาษลอนลูกฟูก โดยในการทดลองจะทำการคัดขนาดของกากด้วยเครื่องคัดขนาดเส้นใยและตะแกรงร่อน แล้วจึงนำมาผสมกับเยื่อใยสั้นเพื่อขึ้นแผ่นกระดาษแล้วทดสอบความแข็งแรงเพื่อหาขนาดของกากที่เหมาะสม จากนั้นจึงทดลองปรับสภาพเส้นใยกากมันสำปะหลังโดยนำไปต้มในน้ำกลี่นและสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ระดับความเข้มข้นและระดับอุณหภูมิต่าง ๆ แล้วจึงนำไปผสมกับเยื่อรีไซเคิลเพื่อขึ้นแผ่นทดสอบ พบว่าการต้มกากด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ระดับความแข้มข้นร้อยละ 15 ของน้ำหนักแห้ง ที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง จะส่งผลให้ค่าดัชนีความแข็งแรงต่อแรงดึง ค่าดัชนีความแข็งแรงต่อแรงดันทะลุ และความต้านทานแรงกดลอนลูกฟูกสูงที่สุด และจากการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีหลังการต้ม พบว่ามีปริมาณโอโลเซลลูโลสอยู่ร้อยละ 38.08 ของน้ำหนักตัวอย่างแห้ง ซึ่งลดลงจากก่อนต้มเพียงเล็กน้อย และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างปริมาณกากมั้นสำปะหลังที่ผสมกับเยื่อรีไซเคิลในสัดส่วนต่าง ๆ พบว่า ปมริมาณการเติมกากมันสำปะหลังที่เหมาะสม คือร้อยละ 5-10 ของน้ำหนักกระดาศ อย่างไรก็ตามหาเปรียบเทียบกับกากมันสำปะหลังที่ต้มด้วยน้ำกลั่นที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง เช่นเดียวกัน พบว่ากระดาษที่ผสมด้วยกากมันสำปะหลังที่ต้มด้วยน้ำกลั่นจะให้ค่าดัชนีความแข็งแรงต่อแรงดึง ค่าดัชนีความแข็งแรงต่อแรงดันทะลุและความต้านทานแรงกดของกระดาษลอนลูกฟูกสูงกว่าen_US
dc.description.abstractalternativeCassava residue is a by-product from cassava starch production which is available in large quantity per day. Cassava residue contains about 20% fibers (dry weight) which may be used to substitute wood pulp in papermaking. However, the cassava residue should be screened and treated to make it more suitable for papermaking. This research investigated the suitable techniques in pretreating the cassava residue for replacing recycled pulp in corrugating medium production. In this experiment. the cassava residue was screened using a Bauer McNett fiber classifier and a 25-mesh test sieve, then mixed with hardwood pulp to make handsheets. The strength properties were tested to determine the optimum fiber size. The screened pulp was then pretreated by cooking in distilled water and sodium hydroxide solution. The variables included sodium hydroxide concentration and cooking temperature. The pretreated residue was then mixed with recycled pulp and made into handsheets. It was found that treating the residue with 15% sodium hydroxide at 50 C for 1 hr provide the sheets with highest tensile index, burst index and Concorat Medium Test (CMT). The chemical analysis showed the holocellulose content as 38.08% which was only slightly decreased after pretreatment. The optimum amount for cassava residue to substitute hardwood pulp is 5-10% of oven-dried sheet weight. However, the pulp that was heated in distilled water under the same condition provided the sheets with higher tensile index, burst index and CMT than the pulp treated with sodium hydroxide.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกากมันสำปะหลังen_US
dc.subjectกระดาษลอนลูกฟูกen_US
dc.subjectCassava residueen_US
dc.subjectCorrugated mediumen_US
dc.titleการใช้กากมันสำปะหลังเพื่อทดแทนเยื่อรีไซเคิลในการผลิตกระดาษลอนลูกฟูกen_US
dc.title.alternativeUtilization cassava residue to substitute recycled pulp in corrugating medium productonen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีเยื่อและกระดาษ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKuntinee.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supaluke_os_front_p.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Supaluke_os_ch1_p.pdf685.67 kBAdobe PDFView/Open
Supaluke_os_ch2_p.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open
Supaluke_os_ch3_p.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open
Supaluke_os_ch4_p.pdf3.35 MBAdobe PDFView/Open
Supaluke_os_ch5_p.pdf778.75 kBAdobe PDFView/Open
Supaluke_os_back_p.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.