Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6774
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสงบทิพย์ พงศ์สถาบดี-
dc.contributor.authorธงชัย เถกิงศักดากุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-05-01T08:47:29Z-
dc.date.available2008-05-01T08:47:29Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741421923-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6774-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractศึกษาการคัดแยกขยะพลาสติกผสมออกจากกัน โดยประยุกต์วิธีโน้มถ่วงและซีเล็คทีฟโฟเทชัน ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ศึกษาการแยกขยะพลาสติก PS ABS PP HDPE PC PVC POM และ PET ด้วยวิธีลอยจม ตัวแปรที่ใช้ศึกษาส่วนนี้ได้แก่ น้ำประชา สารละลาย ความหนาแน่นสูง และสารละลายความหนาแน่นต่ำ ส่วนที่ 2 จะนำขยะพลาสติกที่ไม่สามารถแยกได้ ในส่วนที่ 1 มาคัดแยกด้วยวิธีการโฟลเทชัน ตัวแปรที่ใช้ศึกษาส่วนนี้ได้แก่ (ก). เวตติงต์เอเจนต์ (ข). สารลดแรงตึงผิวชนิดไม่มีประจุ (โพลีออกซีเอททิลลีนซอบิเทนโมโนโอลีเอต ทวีน 80) สารลดแรงตึงผิวชนิดประจุบวก (เฮกซะเดคซิลไตรเมททิวแอมโมเนียมโบรมายด์ ซีเทบ) สารลดแรงตึงผิวชนิดประจุลบ (โซเดียมโดเดคซิลซัลเฟต เอสดีเอส) (ค). ความเข้มข้นและชนิดของอิเล็กโตรไลต์ (ง). ความเข้มข้นของโฟรเตอร์ (จ). ค่าความเป็นกรด-ด่าง ( ฉ). อัตราการไหลของอากาศ และ (ช). เวลาที่ใช้ในการโฟลเทชัน เพื่อแยกขยะพลาสติก โดยค่าแรงตึงผิว และค่ามุมสัมผัส ถูกใช้เพื่ออธิบายผลการทดลอง จากการทดลองส่วนที่ 1 พบว่าขยะพลาสติกแยกออกเป็น 2 กลุ่มด้วยน้ำ กลุ่ม 1 ประกอบด้วย PP และ HDPE กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วย PET POM PC PVC PS และ ABS ภาวะที่เหมาะสมในการแยกขยะพลาสติกลุ่มที่ 1 เมื่อใช้ไอโซโพรพิวเอลกฮอล์ที่ความเข้มข้น 40% ปริมาตรต่อปริมาตร ภาวะที่เหมาะสมที่แยกขยะพลาสติกลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มย่อยคือเมื่อใช้โซเดียมไนเตรท แล้วจึงแยกขยะพลาสติกลุ่มย่อยด้วยซีเล็คทีฟโฟเทชัน พบว่า ภาวะที่เหมาะสมที่แยก PS/ABS เมื่อใช้เกลือรีโนซัลโฟเนต แคลเซียมที่ 400 มิลลิกรัมต่อลิตร ซีเทบที่ 2.67*10 [supperscript -5] ส่วนในล้านส่วน pH 6.8 อัตราการไหลของอากาศที่ 140 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาที และภาวะที่เหมาะสมที่แยก PET/POM เมื่อใช้พอลิไวนิล แอลกอฮอล์ 50 มิลลิกรัมต่อลิตร ซีเทบ 3.33*10 [supperscript -5] ส่วนในล้านส่วน แมกนีเซียมซัลเฟต 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร pH 6.8 อัตราการไหลของอากาศ 238 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาที ซึ่งมีผลทำให้การแยกพลาสติกPS/ABS และ PET/POM มีร้อยละการนำกลับและความบริสุทธิ์มากกว่า 90%en
dc.description.abstractalternativeTo separate waste plastic mixture by applying gravity method and selective flotation. The experiments were divided into 2 parts. Part 1 concerned about sink-float method. The solution used in this part was tap water, dense medium solution and light medium solution. Part 2 involved in selective floatation. Factors studied in this part were (a) wetting agent (CaLS, PVA, CMCCa) (b) presence of nonionic surfactant (Poly(oxyethylene)(20)-sorbitane monooleate, Tween 89), presence of cationaic surfactant (Hexadecyltrimethyl ammonium bromide, CTAB), presence of anionic surfactant (Sodium dodecyl sulphate, SDS) (c) concentration and type of electrolyte (d) concentration of frother (e) pH (f) air flow rate and (g) condition time. Surface tension and contact angle measurements were also performed in order to interpret the obtained results. From Part 1, waste plastics can be separated into 2 groups by water. Group 1 included PP and HDPE. Group 2 accompanied with PET POM PC PVC PS and ABS. To separate PP from HDPE, isopropyl alcohol at concentration of 40 %v/v was used. To separate plastic in group 2 into subgroup, NaNo(subscript 3) was introduced. The plastic subgroups were then separated individually by selective floatation. To separate PS from ABS, it was introduced to use CaLS400 mg/l and CTAB 2.67*10 [supperscript -5] ppm at pH 6.8 and air flow rate of 140 SCCM. To separate PET from POM, it was introduced to use PVA 50 mg/l, CTAB 3.33*10[supperscript -5] ppm and MgSO[subscript 4] 0.01 %w/v at pH 6.8 and air flow rate of 238 SCCM. The recovery and purity of separated PS/ABS and PET/POM were more than 90%.en
dc.format.extent2313786 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพลาสติกen
dc.subjectขยะพลาสติกen
dc.subjectโฟลเทชันen
dc.titleการคัดแยกขยะพลาสติกผสมโดยประยุกต์วิธีโน้มถ่วงและซีเล็กทีฟโฟลเทชันในคอลัมน์แบบกึ่งต่อเนื่องen
dc.title.alternativeSeparation of waste plastic mixture by applying gravity method and selective flotation in semi-continuous columnen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorpsangob@sc.chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tongchai_Ta.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.