Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67777
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทิน คูหาเรืองรอง-
dc.contributor.advisorชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต-
dc.contributor.authorปิยาลัคน์ เงินชูกลิ่น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-09-01T09:16:47Z-
dc.date.available2020-09-01T09:16:47Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.issn9743467157-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67777-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractปัจจุบันมีความพยายามในการนำสารเพียโซอิเล็กทริกเซรามิกมาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ เพื่อใช้ตรวจวิเคราะห์ความผิดปรกติในร่างกายหรือใช้ในการรักษา ข้อเสียของการใช้สารเพียโซอิเล็กทริกเซรามิกเพียงอย่างเดียว คือการรับลิงสัญญาณผ่านตัวกลางจะไม่ดีพอ จึงมีการนำลารพอลิเมอร์มาผสมกับสารเซรามิกเป็นวัสดุเชิงประกอบ (composite) เพื่อทำให้การลิงสัญญาณผ่านตัวกลางดีขึ้น การเตรียมวัสดุเชิงประกอบเซรามิก-พอลิเมอร์มีหลายรูปแบบด้วยกัน ในงานวิจัยครั้งนี้ได้ศึกษาวิธีการเตรียมขึ้นรูปวัสดุเชิงประกอบเซรามิก-พอลิเมอร์ชนิด 0-3 โดยใช้สารเสดเชอร์โคเนตไททาเนต (PZT) เป็นเฟสเซรามิกและ'พอลิ1โวนิลิดี-น'ฟลูออไรด์ (PVDF) เป็นเฟสพอลิเมอร์มาผสมกันแล้วทำการขึ้นรูปโดยวิธี hot-press และการอัด เผา ในการกระจายของเฟสเซรามิก ได้ศึกษาเปรียบเทียบความสามารถในการละลายระหว่างสารละลายเอทานอลและเมทิล เอทิล คีโตน (MEK) และเปรียบเทียบการขึ้นรูปโดยการอัด เผา และการ hot-press จากการตรวจลอบด้วย SEM พบว่า การใช้สารละลาย MEK ในการผสมจะช่วยให้ PVDF ละลายและสามารถเคลือบผิวอนุภาคเซรามิกได้ สำหรับการขึ้นรูปโดยวิธี hot-press ที่อุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส จะลดอัตราการเกิดรูพรุนลิงผลให้มีความหนาแน่นของขึ้นงานเพิ่มขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeRecently there have been several attempts to use piezoelectric ceramic for medical applications such as ultrasonic diagnostic and ultrasound therapy. The disadvantage of piezoelectric ceramic for those applications is impedance mismatch to human body. The combination of ceramic-polymer composites would be the solution for transmitting signal to human body. The variety of ceramic-polymer composites was studied. เท this study the proper methods for preparing 0-3 piezoelectric ceramic polymer composites were investigated. Lead Zirconate Titanate (PZT) was used as piezoelectric ceramic and polyvinylidene Fluoride (PVDF) was used as polymer. The fabrication of composite has been done by conventional technique and hot-press. The effect of solvent, ethanol and Methyl Ethyl Ketone (MEK) on dissolving PVDF and mixing of PZT and PVDF was investigated. It was found that MEK could dissolve PVDF and coated on the surface of ceramic particles as detected by SEM. In addition, process fabrication by hot pressing at 150 .c decreased porosity, resulting in an increase density of the sample.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวัสดุเซรามิกen_US
dc.subjectเพียโซอิเล็กทริกen_US
dc.subjectเฟอโรอิเล็กทริกen_US
dc.subjectCeramic materialsen_US
dc.subjectPiezoelectricityen_US
dc.subjectFerroelctricityen_US
dc.titleการขึ้นรูปวัสดุเชิงประกอบของเพียโซอิเล็กทริกเลดเซอร์โคเนตไททาเนต-พอลิไวนิลิดีนฟลูออไรด์ชนิด 0-3en_US
dc.title.alternativeFabrication of 0-3 piezoelectric lead zirconate titanate-polyvinylidene fluoride compositesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีเซรามิกen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsutin@ccs.sut.ac.th-
dc.email.advisorchutima@tistr.or.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piyalak_ng_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ433.19 kBAdobe PDFView/Open
Piyalak_ng_ch1.pdfบทที่ 176.04 kBAdobe PDFView/Open
Piyalak_ng_ch2.pdfบทที่ 22.5 MBAdobe PDFView/Open
Piyalak_ng_ch3.pdfบทที่ 3800.95 kBAdobe PDFView/Open
Piyalak_ng_ch4.pdfบทที่ 43.53 MBAdobe PDFView/Open
Piyalak_ng_ch5.pdfบทที่ 560.34 kBAdobe PDFView/Open
Piyalak_ng_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก670.99 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.