Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67807
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรากรณ์ คชเสนี-
dc.contributor.authorพวงผกา แก้วกรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-09-03T07:55:43Z-
dc.date.available2020-09-03T07:55:43Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746354809-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67807-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractในระบบนิเวศป่าไม้เขตร้อนสารอาหารส่วนใหญ่จะสะสมไว้ในมวลชีวภาพ การย่อยสลายเป็นกระบวนการที่สำคัญที่สุดที่ทำให้เกิดการหมุนเวียนสารอาหาร การวิจัยครั้งนี้ได้ทำการศึกษาปริมาณผลผลิตเศษซากพืช ในระบบนิเวศป่าผลัดใบ 2 ชนิดหลัก คือระบบนิเวศป่าเบญจพรรณและระบบนิเวศป่าเต็งรังโดยใช้วิธีการใช้อุปกรณ์ดักเก็บเศษซากพืชตลอดช่วงฤดูการผลัดใบในช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ.2538 ถึง มีนาคม พ.ศ.2539 เป็นเวลา 4 เดือน การศึกษาการย่อยสลายโดยวิธีการใช้ถุงเก็บเศษซากพืชในช่วงเดือนมกราคม-กันยายน พ.ศ.2539 เป็นเวลา8 เดือน ผลจากการศึกษาพบว่าผลผลิตเศษซากพืชตลอดช่วงฤดูการผลัดใบและอัตราการย่อยสลาย ในระบบนิเวศป่าเบญจพรรณสูงกว่าระบบนิเวศป่าเต็งรังและความหลากหลายและความหนาแน่นของสัตว์ในดินขนาดกลางในระบบนิเวศป่าเบญจพรรณก็สูงกว่าระบบนิเวศป่าเต็งรัง ผลจาการวิจัยแสดงให้เห็นกลไกที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันกล่าวคือปริมาณและความหลากหลายของผลผลิตเศษซากพืชจะไปมีผลทำให้ความหลากหลายและจำนวนของสัตว์ในดินขนาดกลางในระบบนิเวศป่าเบญจพรรณสูงกว่าระบบนิเวศป่าเต็งรัง จึงส่งผลทำให้กระบวนการย่อยสลายเกิดได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง ซึ่งเป็นผลให้ระบบนิเวศป่าเบญจพรรณเกิดการหมุนเวียนของวงจรสารอาหารได้ดีกว่า ซึ่งเป็นเหตุผลที่สำคัญประการหนึ่งที่ทำให้ระบบนิเวศป่าเบญจพรรณสามารถรองรับความหลากหลายทางชีวภาพและมวลชีวภาพของโครงสร้างสูงกว่าระบบนิเวศป่าเต็งรังen_US
dc.description.abstractalternativeIn the tropical forest ecosystems, most nutrients is accomulated in biomass. Decomposition the most importance process for nutrient cycling. This research studies litter production in 2 major: deciduous forest ecosystem; mixed deciduous and dry dipterocarp forest ecosystem, using litter trap j method covering the entire leave shreding period for 4 months (December 1995-March 1996). Decomposition has been studied by litter bag method for 8 months (January-September 1996). Results show higher litter production for 1 leave shreding season in mixed deciduous I forest than dry dipterocarp forest ecosystem. Decomposition rate in mixed deciduous forest is also higher than dry dipterocarp deciduous forest ecosystem. Species diversity and density of meso soil fauna are also higher in mixed deciduous forest ecosystem than dry dipterocarp forest I ecosystem. This research demonstrates the related mechanisms. Higher litter production and diversity in mixed deciduous forest result in higher diversity and abundant of meso soil fauna in mixed deciduous forest ecosystem than dry dipterocarp forest ecosystem. This results in higher efficiency of decomposition processes, Which in turn overs more efficient in nutrient cyclings In mixed deciduous forest ecosystem. This is one of the significance reason making mixed deciduous forest to accommodate higher diversity and biomass of structure than dry dipterocarp forest ecosystem.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนิเวศวิทยาป่าเขตร้อนen_US
dc.subjectการย่อยสลายทางชีวภาพen_US
dc.titleผลของการย่อยสลายเศษซากพืชต่อสารอาหาร ในระบบนิเวศป่าผลัดใบเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข็งen_US
dc.title.alternativeEffects of litter decomposition on nutrients in deciduous forest ecosystems Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสัตววิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Puangpaka_ka_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ938.83 kBAdobe PDFView/Open
Puangpaka_ka_ch1_p.pdfบทที่ 1885.97 kBAdobe PDFView/Open
Puangpaka_ka_ch2_p.pdfบทที่ 21.4 MBAdobe PDFView/Open
Puangpaka_ka_ch3_p.pdfบทที่ 3915.47 kBAdobe PDFView/Open
Puangpaka_ka_ch4_p.pdfบทที่ 42.22 MBAdobe PDFView/Open
Puangpaka_ka_ch5_p.pdfบทที่ 5817.39 kBAdobe PDFView/Open
Puangpaka_ka_ch6_p.pdfบทที่ 6626.19 kBAdobe PDFView/Open
Puangpaka_ka_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.