Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67895
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรีดา บุญ-หลง-
dc.contributor.advisorศุภจิตรา ชัชวาลย์-
dc.contributor.advisorปิยะศักดิ์ ชอุ่มพฤกษ์-
dc.contributor.authorสุวัฒน์ ธีระพงษ์ธนากร-
dc.date.accessioned2020-09-15T04:16:52Z-
dc.date.available2020-09-15T04:16:52Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743345566-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67895-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้ศึกษาลักษณะทางสรีรวิทยา การเจริญเติบโต และปริมาณพอลิเอมีน ในใบข้าว หลังจากได้รับโซเดียมคลอไรด์ระดับความเข้มข้นต่าง ๆ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยศึกษาในข้าว 4 พันธุ์ คือพอคคาลี (พันธุทนเค็ม) PTT85180และกข6 (พันธุ์ทนเค็มปานกลาง) ไออาร์28 (พันธุ ไม่ทนเค็ม) จากการทดลองพบว่าข้าวพันธุ์พอคคาลี และ PTT 85180 มีลักษณะทางสรีรวิทยา (A, Gs, E, CE และ QY) สูงกว่า กข6 และ ไออาร์28 หลังจากได้รับโซเดียมคลอไรด์ทั้งระยะสั้นและ ระยะยาว นอกจากนี้ยังพบว่าข้าวทุกพันธุ์มีลักษณะการเจริญเติบโต (RGR, พื้นที่ใบ, น้ำหนักแห้ง ต้น และ ราก) ลดลงอย่างมีนัยสำคัญหลังจากได้รับเกลือ 7-21 วัน ซึ่งจุดวิกฤตที่ต้นข้าวแสดงออกพบที่ระดับเกลือ 50 มิลลิโมล อย่างไรก็ตามข้าวพันธุ์พอคคาลีมีประสิทธิภาพในการตรีง C02 เพื่อการเจริญเติบโตสูงสุด ขณะที่พันธุPTT85180 กข6 และ ไออาร์28 มีการเจริญเติบโตปานกลาง และต่ำที่สุดตามลำดับ สำหรับการสะสมพอลิเอมีนในใบข้าวพบว่า พันธุพอคคาลี PTT85180 และ กข6 มีการสะสม Spd และ Spm สูงกว่า พันธุไออาร์28 หลังจากได้รับเกลือ 14-21 วัน ขณะที่ พันธุไออาร์28 มีอัตราส่วน Put/Spd+Spm สูงกว่าข้าวทุกพันธุ์ หลังจากได้รับเกลือ 14 วัน ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางสรีรวิทยา (A, Gs, E, CE, และ QY) และ ลักษณะการเจริญเติบโต (RGR, พื้นที่ใบน้ำหนักแห้งต้น และ ราก) มีค่าลดลงเมื่อต้นข้าวได้รับความเครียดจากเกลือ ขณะเดียวกันการเพิ่มระดับเกลือทำให้ปริมาณ พอลิเอมีน, WUE และ SLW ในข้าวมีค่าเพิ่มขึ้นอีกด้วย จากการทดลองสรุปว่า การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางสรีรวิทยา และการเจริญเติบโต และปริมาณพอลิเอมีนที่สะสมในใบข้าวมีความสัมพันธ์กับความสามารถในการทนเค็มของข้าวแต่ละพันธุ์-
dc.description.abstractalternativeThe experiment was conducted to investigate some physiological characters, growth parameters and polyamine contents in leaves of rice plants during short-and long-term periods after sodium chloride treatments. Four rice cultivars Pokkali (salt-tolerant), PTT85180, RD6 (moderately tolerant) and IR28 (salt-sensitive) were use in this study. Physiological characters (A, Gs, E, CE and QY) of rice plants were found to be higher in Pokkali, PTT85180 than RD6 and IR28 during short and long-term periods after sodium chloride treatments. The growth parameters (RGR, leaf area, shoot and root dry weight) of all salinized cultivars were significantly decreased during 7-21 days of salinity levels. The critical concentration was found in 50 mMNaCI level. However, the carboxylation efficiency of rice growth was found to be the highest in Pokkali while PTT85180, RD6 and IR28 showed moderate and lowest levels respectively after salinity stress. Pokkali, PTT85180, and RD6 cultivars accumulated high levels of Spd and Spm resulting in enhanced level of total polyamine while IR28 cultivar accumulated lower levels of those than the other when exposed to salinity stress during 14-21 days. The ratio of Put/Spd+Spm was found to be higher เท IR28 cultivar than Pokkali, PTT85180 and RD6 after 14 days of salinization. The interrelations between physiological characters (A, Gs, E, CE and QY) and growth parameters (RGR, leaf area, shoot and root dry weight) were negatively correlated to salinity stress. Contrastly, salinity levels were positively correlated with polyamine, WUE and SLW respectively. in summary, changes in physiological characters, growth parameters and polyamine contents in leaves were correlated with salt tolerance of rice in each cultivars.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโพลิเอมีนen_US
dc.subjectการสังเคราะห์แสงen_US
dc.subjectเกลือen_US
dc.subjectข้าวen_US
dc.subjectความเค็มen_US
dc.subjectPolyaminesen_US
dc.subjectPhotosynthesisen_US
dc.subjectSaltsen_US
dc.subjectRiceen_US
dc.subjectSalinityen_US
dc.titleอิทธิพลของโซเดียมคลอไรด์ต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง และปริมาณพอลิเอมีนในข้าว Oryza sativa L.en_US
dc.title.alternativeEffects of sodium chloride on photosynthetic rate, and polyamine contents in rice Oryza sativa L.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์ชีวภาพen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPreeda.b@chula.ac.th-
dc.email.advisorSupachitra.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorPiyasak.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suwat_te_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.2 MBAdobe PDFView/Open
Suwat_te_ch1_p.pdfบทที่ 1728.42 kBAdobe PDFView/Open
Suwat_te_ch2_p.pdfบทที่ 21.06 MBAdobe PDFView/Open
Suwat_te_ch3_p.pdfบทที่ 3978.6 kBAdobe PDFView/Open
Suwat_te_ch4_p.pdfบทที่ 44.89 MBAdobe PDFView/Open
Suwat_te_ch5_p.pdfบทที่ 51.13 MBAdobe PDFView/Open
Suwat_te_ch6_p.pdfบทที่ 6660.36 kBAdobe PDFView/Open
Suwat_te_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก812.9 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.