Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/678
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิกา ศรีรัตนบัลล์-
dc.contributor.authorศิรนาถ ขนอม, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-08T05:03:48Z-
dc.date.available2006-07-08T05:03:48Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745314447-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/678-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการขัดเกลาบทบาททางเพศสภาพในสังคมไทย ที่มีผลต่อการรับรู้บทบาทด้านเพศและพฤติกรรมทางเพศของผู้หญิงในสังคม 2) ศึกษาถึงการรับรู้บทบาทด้านเพศและพฤติกรรมทางเพศ ของผู้หญิงที่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ 3) ศึกษาบทบาททางเพศสภาพในสังคมไทย ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลรักษาสุขภาพของผู้หญิงที่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ 4) ศึกษาถึงปัจจัยต่างๆ ที่มีส่วนสนับสนุนให้เกิดพฤติกรรมในการดูแลรักษาสุขภาพของผู้หญิงที่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นผู้หญิงที่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ที่มารับการรักษา ณ สาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี และ โรงพยาบาลพุนพิน อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี รวมรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การศึกษาประวัติชีวิต และการศึกษาจากเอกสาร ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการจัดเกลาบทบาททางเพศสภาพในสังคมไทยเป็นปัจจัยสำคัญปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลรักษาสุขภาพของผู้หญิงที่ป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ซึ่งกระบวนการขัดเกลาบทบาททางเพศสภาพในสังคมไทยได้หล่อหลอมให้ผู้หญิงในกลุ่มตัวอย่างรับรู้ว่าผู้หญิงที่ดีควรจะเป็นผู้ที่ประพฤติตัวตามจารีตประเพณี และค่านิยมที่สืบทอดต่อกันมา นอกจากนี้การวิจัยพบว่า ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลและรักษาโรคของกลุ่มตัวอย่าง คือ แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพและการสนับสนุนทางสังคม ซึ่งปัจจัยเหล่านี้จะมีระดับความสำคัญที่แตกต่างกันตามการรับรู้บทบาทด้านเพศของกลุ่มตัวอย่างและบุคคล และชนิดของโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์en
dc.description.abstractalternativeThis study is a qualitative research which aims 1) to investigate the process of gender role socialization in Thailand 2) to explore relationships between sexual roles and sexual behaviour of women with sexually transmitted infections (STIs) 3) to assess effects of gender role on health behaviour of women with STIs 4) to understand health seeking behaviour of women with STIs. Ten informants are women with STIs who visited Suratthani provincial public health office and Phunpin hospital in Suratthani. Data are obtained through in-depth interview of women’s life history and documentary research. Research findings reveal that gender role socialization is an important factor which determines health behaviour of women with STIs by internalizing the value of being a good woman who must conform to moral and social values. It is concluded that health belief model and social support have been proven to be useful in explaining sexual health and health-seeking behaviour of the women.en
dc.format.extent2122272 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์en
dc.subjectสังคมประกิตen
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพen
dc.subjectบทบาทตามเพศen
dc.subjectสตรี--ไทยen
dc.titleการรับรู้บทบาทด้านเพศและพฤติกรรมสุขภาพในสังคมไทยปัจจุบัน : ศึกษากรณีสตรีที่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์en
dc.title.alternativePerceived sexual roles and health behaviour in the contemporary Thai society : a case study of women with sexually transmitted infectionen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameสังคมวิทยามหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineสังคมวิทยาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPavika.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siranard.pdf1.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.