Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67925
Title: | Comparison between closed reduction with percutaneous pinning and open reduction with pinning in children with closed totally displaced supracondylar humeral fractures : a randomized controlled trial |
Other Titles: | เปรียบเทียบผลการรักษากระดูกหักแบบปิดส่วนต้นแขนด้านล่างเหนือคอนดายล์ในเด็กระหว่างการดึงกระดูกเข้าที่แบบปิดและตรึงกระดูกด้วยโลหะชนิดแท่ง กับการผ่าตัดจัดกระดูกให้เข้าที่และตรึงกระดูกด้วยโลหะชนิดแท่ง : การทดลองทางคลินิกชนิดสุ่มทดลอง |
Authors: | Kamolporn Kaewpornsawan |
Advisors: | Chitr Sitthi-amorn Pradit Somprakit |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Advisor's Email: | Chitr.S@Chula.ac.th No information provided |
Subjects: | Humerus Fracture -- Treatment Metals in medicine Clinical trials กระดูกต้นแขน กระดูกหัก -- การรักษา โลหะในทางการแพทย์ การทดลองทางคลินิก |
Issue Date: | 1998 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Objectives: To measure the difference in Baumann’s angle of the fracture side from the normal side and compare between closed and open reduction group., To compare the satisfaction, the complication rates, the cost effectiveness, the range of motion between two groups of treatment., To consider which method should be the treatment of choice for children with totally displace supracondylar humeral fracture. Design: A randomize controlled clinical trial. Setting: Siriraj hospital, Faculty of Medicine, Mahidol University. Patients and Intervention: Twenty children with closed totally displaced supracondylar humeralfracture were ramdomly assigned to group A (closed reduction with pinning) in 10 cases and group B (open reduction with pinning) in 10 cases. Results: The general characteristics in both groups are not differect in age (mean ± S.D. = 6.9 ± 3.1, 6.3 ± 2.8, P= 0.66.95% CI -2.2, 3.4), sex, side, displacement and nerve injury preoperatively. All cases healed in good range of motion and results. The Baumann’s angle difference = 2.53 ± 1.8 in group A and 2.09 ± 1.7 in group B with no statistical significant difference (P = 0.44, 95%CI = -1.2, 2.08) and also no difference in satisfaction and complications. But the total cost in provider’s perspective and parents’ perspective were different (P=0.029, <0.001 respectively) Conclusions: Closed reduction should be considered first as the treatment of choice and if it fails open reduction can be performed and will end up in good result. |
Other Abstract: | วัตถุประสงค์ : เพื่อเปรียบเทียบผลการรักษาระหว่างการดึงกระดูกกับผ่าตัดจัดกระดูก และตรึงด้วยโลหะว่ามีความแตกต่างกันในความโก่งของศอกวัดเป็นมุม โบแบน (Baumann) ในกระดูกหักในเด็กของต้นแขนส่วนล่าง เหนือคอนดายล์ เพื่อเปรียบเทียบความพอใจและราคาของการรักษา รวมทั้งผลแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น และเพื่อหาข้อสรุปว่าควรใช้วิธีการใดเป็นการรักษาที่สมควรให้กับผู้ป่วย โครงสร้างการวิจัย : การทดลองทางคลินิกแบบสุ่มทดลองชนิดที่มีการแบ่งผู้ป่วยออกเป็น 2 กลุ่มทดลองแบบปราศจากอคติ สถานที่ทำการวิจัย : โรงพยาบาลศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ป่วยและการรักษาที่ให้ : ผู้ป่วยเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี ที่มีกระดูกหักชนิดนี้ จำนวน 20 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม โดยการสุ่ม กลุ่มแรกได้รับการดึงกระดูกให้เข้าที่ กลุ่มที่สองได้รับการผ่าตัดและจัดกระดูก ทั้งสองกลุ่มได้รับยืดตรึงกระดูกด้วยโลหะชนิดแท่ง ผลการทดลอง : ลักษณะทั่วไปของทั้ง 2 กลุ่ม ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยมีผลกลุ่มแรกและกลุ่มที่สองดังนี้ อายุ 6.9 ± 3.1, 6.3 ± 2.8 (P = 0.66) เพศหญิง : ชาย 1: 1 , 1:4 (P = 0.35) ข้างที่หัก ขวา : ซ้าย 3:7 , 1:4 (P = 1.0) การเคลื่อน และอันตรายต่อเส้นประสาทก็ไม่มีความหมายแตกต่างเช่นกัน (P = 1.0) การติดตามผลได้ครบทุกคน และทุกคนมีค่ามุม Bauman ข้างที่รักษาต่างกับข้างปกติเล็กน้อย = 2.53 ± 1.8 และ 2.09 ± 1.7, P=0.44, 95% CI = -1.2, 2.08 ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ รวมทั้งคะแนนความพอใจ, การเคลื่อนไหวของข้อปกติและการติดกันของกระดูดได้ 100% ทั้ง 2 กลุ่ม ยกเว้นค่าใช้จ่ายของการรักษาโดยการผ่าตัดสูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในแง่ผู้ให้บริการ (P=0.029) และในแง่มุมของบิดามารดาผู้ป่วย (P <0.001) สรุป : ในผู้ป่วยเด็กกระดูกหักแบบปิดส่วนต้นแขนซ้ายเหนือคอนดายล์ ควรได้รับการรักษาโดยการดึงกระดูกเข้าที่แบบปิดและตรึงกระดูดด้วยโลหะชนิดแท่งก่อน ถ้าล้มเหลว จึงสามารถผ่าตัดจัดกระดูกและได้รับผลดีเช่นกัน |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1998 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Health Development |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67925 |
ISBN: | 9743312404 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kamolporn_ka_front_p.pdf | หน้าปก และบทคัดย่อ | 995.66 kB | Adobe PDF | View/Open |
Kamolporn_ka_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 728.22 kB | Adobe PDF | View/Open |
Kamolporn_ka_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 681.66 kB | Adobe PDF | View/Open |
Kamolporn_ka_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 865.04 kB | Adobe PDF | View/Open |
Kamolporn_ka_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Kamolporn_ka_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 658.58 kB | Adobe PDF | View/Open |
Kamolporn_ka_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 743.17 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.