Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67978
Title: | การวิเคราะห์พารามิเตอร์ในการปรับค่าความโค้งของกระจกรถยนต์ เพื่อลดต้นทุนการผลิต |
Other Titles: | Automotive glass curvature parameter analysis for cost reduction |
Authors: | พิเชษฐ ศรียวรยาตร |
Advisors: | วันชัย ริจิรวนิซ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | vanchai55@chula.com |
Subjects: | กระจก การควบคุมต้นทุนการผลิต Glass Cost control |
Issue Date: | 2543 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ จะเป็นการศึกษาถึงพารามิเตอร์ที่ใช้ในการปรับความ โค้งของกระจกรถยนต์ เพื่อสร้างความหลากหลายสำหรับเตา T-91 ซึ่งในการเพิ่มความสามารถ ในการปรับความโค้งเพื่อที่จะทำการผลิตทดแทนเตา T-51 และ T-81ซึ่งมีต้นทุนการผลิตที่สูงกว่าขั้นตอนในการศึกษาในช่วงแรกจะกำหนดปัจจัยที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วยอุณหภูมิของกระจกแรงดันลมบน แรงดันลมล่างและสีของกระจกเพื่อที่จะหาว่าปัจจัยใดมีผลต่อการปรับความโค้งของกระจกจากผลการทดลองจะพบว่าแรงดันลมบน และแรงดันลมล่างนั้นเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการปรับความโค้งของกระจกหลังจากนั้นจะทำการหาว่าช่วงความโค้งที่สามารถทำได้เป็นเท่าไร โดยการปรับค่าแรงดันลมบนและแรงดันลมล่าง จะพบว่าช่วงความโค้งที่สามารถทำได้เป็นดังนี้ 1) โรลเลอร์โค้ง 1200 R สามารถทำความโค้งอยู่ในช่วง 1095 - 1425 R 2) โรลเลอร์โค้ง 1600 R สามารถทำความโค้งอยู่ในช่วง 1450-1860 R 3) โรลเลอร์โค้ง 2000 R สามารถทำความโค้งอยู่ในช่วง 1900 - 2515 R และได้ทำการทดสอบคุณภาพการแตกของกระจกเทมเปอร์เมื่อมีการปรับพารามิเตอร์แรงดันลมบน และแรงดันลมล่าง พบว่าถ้าใช้ค่าแรงดันลมบน และแรงดันลมล่างอยู่ใน ช่วง 800 -1200มมนํ้าจะทำให้ผลการทดสอบคุณภาพการแตกไม่ผ่านตามมาตรฐาน นอกจากนั้นยังได้วิเคราะห์ต้นทุนเปรียบเทียบเมื่อมีโมเดลใหม่ เข้ามาในช่วงเดือน กันยายน - ธันวาคม 2543 โดยการใช้เตา T-91 ทดแทนการผลิตเตา T-81 สามารถลดต้นทุน การผลิตเป็นจำนวน 615,896 บาท |
Other Abstract: | The objective of this research is to study parameters by adjusting curvature of automotive glass with alternative curvatures in glass furnace no. T-91 to increase production ranges which can replace the use of furnace no. T-51 and T-81 of which production cost is higher. The procedure in first step is to set the studied parameters which are glass temperature, upper air pressure, lower air pressure and color of glass. From result of the testing, the upper air pressure and lower air pressure are the active parameters which effect glass curvatures. The second step is to adjust the upper air pressure and lower air pressure for checking range of curvatures which can be workable. The results are as follows: 1) Bender Roller 1200 R can make curvature in range 1095 - 1425 R 2) Bender Roller 1600 R can make curvature in range 1450 - 1860 R 3) Bender Roller 2000 R can make curvature in range 1900 - 2515 R The test quality of fragmentation when adjusting the upper air pressure and lower air pressure reveals that the pressure range 800 - 1200 mm.H2O fragmentation can not pass EC standard. In the analysis study of production cost new model during September – December 2000 by using T-91 to replace T-81 can reduce production cost by 615,896 baht. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมอุตสาหการ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67978 |
ISSN: | 9743464387 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pichet_sr_ch1.pdf | บทที่ 1 | 493.75 kB | Adobe PDF | View/Open |
Pichet_sr_ch2.pdf | บทที่ 2 | 902.37 kB | Adobe PDF | View/Open |
Pichet_sr_ch3.pdf | บทที่ 3 | 1.72 MB | Adobe PDF | View/Open |
Pichet_sr_ch4.pdf | บทที่ 4 | 1.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Pichet_sr_ch5.pdf | บทที่ 5 | 584.64 kB | Adobe PDF | View/Open |
Pichet_sr_ch6.pdf | บทที่ 6 | 433.95 kB | Adobe PDF | View/Open |
Pichet_sr_ch7.pdf | บทที่ 7 | 123.56 kB | Adobe PDF | View/Open |
Pichet_sr_back.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 80.15 kB | Adobe PDF | View/Open |
Pichet_sr_front.pdf | หน้าปกและบทคัดย่อ | 316.51 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.