Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67990
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Prabhas Chongstitvatana | - |
dc.contributor.author | Chatchawit Aporntewan | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering | - |
dc.date.accessioned | 2020-09-18T04:43:45Z | - |
dc.date.available | 2020-09-18T04:43:45Z | - |
dc.date.issued | 1999 | - |
dc.identifier.issn | 9743342192 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67990 | - |
dc.description | Thesis (M.Eng)--Chulalongkorn University, 1999 | - |
dc.description.abstract | The thesis proposes an on-line evolvable hardware (EHW), called mimetic EHW. The task is to mimic a sequential circuit by observing its partial input/output sequences. The genetic algorithm (GA) is used to search for the circuit satisfying the input/output sequences collected from the target circuit. The mimetic EHW consists of a custom microprocessor and a fitness evaluator. The microprocessor is particularly designed for an execution of GA. The evaluator acts as coprocessor, accelerating the fitness evaluation which is a bottleneck of GA. The microproces-sor and the evaluator are designed using the Verilog hardware description language (Verilog HDL), then realized on Xilinx XC4010 FPGAs. The result shows that, by using the state-of-the-art FPGA, the microprocessor combined with a parallel of 8 fitness evaluators could perform 36 times faster than the software version running on a conventional computer (PentiumPro With Linux OS). | - |
dc.description.abstractalternative | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เสนอฮาร์ดแวร์เชิงวิวัฒน์แบบเชื่อมตรง ซึ่งตั้งชื่อว่า ฮาร์ดแวร์เชิงวิวัฒน์เลียนแบบ การทำงานของวงจรนี้คือ การเลียนแบบการทำงานของวงจรเชิงลำดับโดยการสังเกตลำดับของอินพุต/เอาต์พุต ผู้วิจัยใช้ขั้นตอนวิธีพันธุการเพื่อค้าหาวงจรที่ทำงานได้ถูกต้องตามลำดับของอินพุต/เอาต์พุตของวงจรเป้าหมาย ฮาร์ดแวร์เชิงวิวัฒน์เลียนแบบมีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ ไมโครโพร-เซสเซอร์และตัวคำนวณค่าความดี ไมโครโพรเซสเซอร์ถูกออกแบบสำหรับการกระทำการของขั้นตอนวิธีพันธุการ ตัวคำนวณค่าความดีทำหน้าที่เป็นตัวประมวลผลร่วม เร่งการคำนวณค่าความดีซึ่งเป็นคอขวดของขั้นตอนวิธีพันธุการ ผู้วิจัยออกแบบไมโครโพรเซสเซอร์และตัวคำนวณค่าความดีโดยใช้ภาษาเวอริลอก สังเคราะห์ไมโครโพรเซสเซอร์และตัวคำนวณค่าความดีบน Xilinx xc4010 FPGAs ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า ถ้าใช้ FPGA ที่ดีที่สุดในปัจจุบัน ไมโครโพรเซลเซอร์ประกอบกับตัวคำนวณค่าความดี 8 ตัวซึ่งทำงานแบบขนาน สามารถทำงานได้เร็วกว่าซอฟต์แวร์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (ใช้ตัวประมวล PentiumPro และระบบปฏิบัติการลินุกซ์) ถึง 36 เท่า | - |
dc.language.iso | en | - |
dc.publisher | Chulalongkorn University | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | - |
dc.subject | Computers | - |
dc.subject | Electronic circuits | - |
dc.subject | Genetic algorithms | - |
dc.subject | วงจรอิเล็กทรอนิกส์ | - |
dc.subject | คอมพิวเตอร์ | - |
dc.subject | จีเนติกอัลกอริทึม | - |
dc.title | A mimetic evolvable hardware for sequential circuits | - |
dc.title.alternative | ฮาร์ดแวร์เชิงวิวัฒน์เลียนแบบสำหรับวงจรเชิงลำดับ | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | Master of Engineering | - |
dc.degree.level | Master's Degree | - |
dc.degree.discipline | Computer Engineering | - |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chatchawit_ap_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 851.4 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chatchawit_ap_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 690.99 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chatchawit_ap_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 732.87 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chatchawit_ap_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 964.47 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chatchawit_ap_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
Chatchawit_ap_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 774.65 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chatchawit_ap_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 1.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Chatchawit_ap_ch7_p.pdf | บทที่ 7 | 749.88 kB | Adobe PDF | View/Open |
Chatchawit_ap_ch8_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 604.23 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.