Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6801
Title: Accumulation of organochlorine insecticide residues in food chain of fish at Khlong 7, Rangsit agricultural area, Pathum Thani province
Other Titles: การสะสมของสารฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโนคลอรีนในห่วงโช่อาหารของปลา ณ คลอง 7 พื้นที่เกษตรกรรมรังสิต จังหวัดปทุมธานี
Authors: Juthasiri Rohitrattana
Advisors: Kumthorn Thirakhupt
Pakorn Varanusupakul
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: kumthorn@sc.chula.ac.th
pakorn.v@chula.ac.th
Subjects: Pesticides -- Environmental aspects
Organochlorine compounds
Fishes -- Effect of insecticides on
Issue Date: 2005
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Fifty species of fish were collected during June 2004 to May 2005 at Khlong 7, Rangsit, Pathum Thani Province. Forty-two species were analyzed for accumulation and biomagnification of organochlorine (OC) insecticide residues. The compounds were [Sigma]BHC (alpha, beta, gamma and delta-BHC) [Sigma]Heptachlor (heptachlor and heptachlor epoxide), [Sigma]Endrin (endrin and endrin aldehyde), [Sigma]DDT (p,p'-DDE, p,p'-DDD and p,p'-DDT), [Sigma]Endosulfan (endosulfan I, endosulfan II and endosulfan sulfate), aldrin, dieldrin and methoxychlor. The major compounds detected in the fillets were [Sigma]DDT (<0.04-48.26 ppb) and [Sigma]Endosulfan (0.44-49.18 ppb), followed by [Sigma]Heptachlor (<0.02-26.51 ppb), [Sigma]BHC (<0.05-20.76 ppb), [Sigma]Endrin (<0.02-14.73 ppb), Dieldrin (<0.03-13.22 ppb), Methoxychlor (<0.02-13.18 ppb) and Aldrin (<0.02-9.88 ppb), respectively. [Sigma]DDT and [Sigma]Endosulfan concentrations in fillets increased with fish total bodylength. Biomagnification factor (BMF) values were 1.61-2.27 for [Sigma]DDT and 4.19-8.80 for [Sigma]Endosulfan from primary consumers, herbivorous and detritivorous fish to the top predatory fish. Based on the Thai and FAO/WHO maximum residue limits (MRLs), all OC residue concentrations were beloow the levels that have been suggested to cause the adverse effects on human and wildlife.
Other Abstract: เก็บตัวอย่างปลาน้ำจืดจำนวน 42 สปีชีส์ ระหว่างเดือนมิถุนายน 2547 ถึงเดือนพฤษภาคม 2548 ณ คลอง 7 รังสิต จังหวัดปทุมธานี วิเคราะห์การสะสม และการเพิ่มขึ้นของสารฆ่าแมลงตกค้างออร์กาโนคลอรีนตามห่วงโซ่อาหาร สารที่วิเคราะห์ได้แก่ สารกลุ่มบีเอซซี (อัลฟ่า-, เบต้า-, แกมม่า- และ เดลต้า บีเอซซี), กลุ่มเฮปตะคลอร์ (เฮปตะคลอร์ และเฮปตะคลอร์ อีพ๊อกไซด์), กลุ่มเอ็นดริน (เอ็นดริน และเอ็นดรินอัลดีไฮด์), กลุ่มดีดีที (ดีดีอี, ดีดีดี และ ดีดีที), กลุ่มเอ็นโดซัลแฟน (เอ็นโดซัลแฟน I, เอ็นโดซัลแฟน II และเอ็นโดซัลแฟนซัลเฟต), อัลดริน, ดีลดริน และเมทท็อกซิคลอร์ พบว่าสารส่วนใหญ่ที่ตรวจพบในเนื้อปลาเป็นกลุ่มดีดีที (<0.02-48.26 พีพีบี) และกลุ่มเอ็นโดซัลแฟน (0.44-49.18 พีพีบี) สำหรับสารที่มีความเข้มข้นรองลงมาได้แก่ สารกลุ่มเฮปตะคลอร์ (<0.02-26.51 พีพีบี), กลุ่มบีเอซซี (<0.05-20.76 พีพีบี), ดีลดริน (<0.03-13.22 พีพีบี) และเมทท็อกซิคลอร์ (<0.02-13.18 พีพีบี) ตามลำดับ และพบว่ามีความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างความเข้มข้นของสารกลุ่มดีดีทีและกลุ่มเอ็นโดซัลแฟนที่พบในเนื้อปลากับความยาวของปลา ค่าปัจจัยการเพิ่มขึ้นของสารตามลำดับในห่วงโซ่อาหารของกลุ่มดีดีทีมีค่า 1.61-2.27 เท่า และของกลุ่มเอ็นโดซัลแฟนมีค่า 4.19-8.80 เท่าจากผู้บริโภคปฐมภูมิไปยังผู้บริโภคขั้นสูงสุด ซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีของการถ่ายทอดสารเคมีในห่วงโซ่อาหาร ทั้งนี้ความเข้มข้นของสารฆ่าแมลงตกค้างออร์กาโนคลอรีนทุกชนิดที่ศึกษามีค่าต่ำกว่าระดับที่ทำให้เกิดผลร้ายแรงในมนุษย์และสัตว์ตามเกณฑ์ที่ประกาศโดยกระทรวงสาธารณสุขและองค์กรอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2005
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Environmental Management (Inter-Department)
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6801
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1675
ISBN: 9741761627
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2005.1675
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Juthasiri.pdf5.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.