Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68012
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรอนงค์ อร่ามวิทย์-
dc.contributor.advisorอุปถัมภ์ ศุภสินธุ์-
dc.contributor.authorกนกวรรณ เพ็ชรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-09-18T08:49:30Z-
dc.date.available2020-09-18T08:49:30Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68012-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิศักย์ของใบหม่อนเม็ดในการลดระดับคอเลสเตอรอลในผู้ป่วยที่มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติในระยะเริ่ม โดยมีรูปแบบการวิจัยแบบเปรียบเทียบภายในกลุ่ม (within-subjects research design) ผู้วิจัยทำการศึกษาในผู้ป่วยนอกที่เข้ารับการรักษา ณ คลินิกกองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า จากการคัดเลือกผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติตามเกณฑ์ของ NCEP III และผู้ป่วยดังกล่าวได้ผ่านการควบคุมอาหารมาเป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ แต่ยังไม่สามารถลดระดับไขมันในเลือดได้ มีผู้ป่วยเข้าร่วมในการศึกษาทั้งสั้งสิ้น 23 ราย ผู้ป่วยทั้งหมดจะได้รับใบหม่อนเม็ดขนาด 280 มิลลิกรัม รับประทานครั้งละ 3 เม็ดวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ เจาะวัดระดับไขมันและเอนไซม์ตับทุก ๆ 4 สัปดาห์ ผลการวิจัยพบว่าที่ระยะเวลา 4 และ 8 สัปดาห์หลังได้รับใบหม่อนเม็ด กลุ่มตัวอย่างมีระดับไตรกลีเซอไรด์ลดลงได้รัอยละ 10.2 (p < 0.05) และ 12.5 (p < 0.05) ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับก่อนได้รับ และเมื่อสิ้นสุดการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีระดับคอเลสเตอรอลรวมระดับไตรกลีเซอไรด์ และระดับแอลดีแอลลดลงร้อยละ 4.9 (p < 0.05), 14.1 (p < 0.05) และ 5.6 (p < 0.01) ตามลำดับ และมีระดับเอชดีแอลเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.7 ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.01) เมื่อเทียบกับก่อนได้รับ ความร่วมมือในการใช้ใบหม่อนเม็ด ประเมินโดยการนับจำนวนเม็ดที่เหลือเมื่อสิ้นสุดการวิจัย พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความร่วมมือในการใช้ใบหม่อนเม็ดมากกว่าร้อยละ 90 ด้านปริมาณแคลอรีจากอาหาร พบว่าไม่มีความแตกต่างกันของปริมาณแคลอรีจากอาหารที่กลุ่มตัวอย่างได้รับในแต่ละ 4 สัปดาห์ของการติดตามผล ด้านอาการไม่พึงประสงค์ระหว่างการใช้ใบหม่อนเม็ด ไม่พบอาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรง พบกลุ่มตัวอย่างจำนวน 6 ราย (ร้อยละ 26.1) มีอาการท้องเสียเล็กน้อย 2 ราย (ร้อยละ 8.7) มีอาการวิเวียนและหิวบ่อย และ 1 ราย (ร้อยละ 4.3) มีอาการท้องอืดร่วมกับท้องผูกen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to evaluate the hypolipidemic effect of mulberry leaf tablet in patients with dyslipidemia at initial stage. A within-subjects research design was conducted at out-patient internal medicine clinic, Pramongkutklao Hospital. Twenty-three patients who met the NCEP III criteria guideline for dyslipidemia and had diet control for 4 weeks were enrolled and assigned to receive three tablets of 280 mg mulberry leaf tablet three times a da before meal for 12 weeks. Routine blood analyses including lipid parameters and liver function test were performed every 4 weeks. The result from pre-and post treatment analysis of blood plasma showed that at the fourth and eighth week of mulberry therapy, triglyceride was significantly decreased at 10.2% (p < 0.05) and 12.5 % (p < 0.05), respectively from baseline. At the end of the study, total cholesterol, triglyceride and LDL were significantly decreased at 4.9% (p < 0.05), 14.1% (p < 0.05)and 5.6% (p < 0.01), respectively from baseline whereas HDL was significantly increased at 19.7% (p < 0.01) Compliance was assessed by pill count method. The results showed that most patients had a good compliance (>90%). There was no significant difference of calories intake in each period. Severe adverse effects were not found in all patients. However, 6 of 23 patients had mild diarrhea. Two patients experienced dizziness and good appetite while one patient experienced constipation and bloating.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโคเลสเตอรอลen_US
dc.subjectไขมันในเส้นเลือดen_US
dc.subjectใบหม่อนen_US
dc.subjectCholesterolen_US
dc.subjectMulberry leafen_US
dc.subjectHypolipidemic effecten_US
dc.titleประสิทธิศักย์ของใบหม่อนเม็ดในการลดระดับคอเลสเตอรอลในผู้ป่วยที่มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติในระยะเริ่มแรกen_US
dc.title.alternativeEfficacy of Mulberry leaf tablet to reduce cholesterol level in patients with dyslipidemia at initial stageen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเภสัชศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเภสัชกรรมคลินิกen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPornanong.A@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanokwan_pe_front_p.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Kanokwan_pe_ch1_p.pdf931.68 kBAdobe PDFView/Open
Kanokwan_pe_ch2_p.pdf1.81 MBAdobe PDFView/Open
Kanokwan_pe_ch3_p.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
Kanokwan_pe_ch4_p.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open
Kanokwan_pe_ch5_p.pdf805.45 kBAdobe PDFView/Open
Kanokwan_pe_back_p.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.