Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6809
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวนิดา เอกแสงศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม)-
dc.date.accessioned2008-05-06T02:41:00Z-
dc.date.available2008-05-06T02:41:00Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6809-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความสามารถทางความคิดเชื่อมโยง และความสามารถทางความคิดเชิงมโนทัศน์ของนักเรียนชั้นประถมปีที่ 5 สาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีภูมิหลังและสถานภาพทางเศรษฐกิจ สังคม ต่างกัน โดยพิจารณาศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มนักเรียนที่มีภูมิหลังต่างกัน กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนสาธิตจุฬาฯ ระดับชั้นป.5 จำนวน 154 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับภูมิหลัง แบบสอบวัดช่วงความจำตัวเลข และแบบสอบถามแสตรดาร์ดโปรเกรสซีพเมตริซิส การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การคำนวณค่าร้อยละของข้อมูลสถานภาพของนักเรียน คำนวณค่ามัชฌิมเลขคณิตและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนความสามารถทางความคิดทั้ง 2 ด้าน โดยจำแนกนักเรียนตามภูมิหลัง ทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยโดยการทดสอบด้วย t-test และ F-test ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนความสามารถทางความคิดเชิงเชื่อมโยง และความสามารถทางความคิดเชิงมโนทัศน์ของนักเรียนชั้นประถมปีที่ 5 สาธิตจุฬาฯ อยู่ในระดับดี 2. นักเรียนสาธิตจุฬาฯ ที่มีภูมิหลังต่างกัน มีคะแนนความสามารถทางความคิดทั้ง 2 ด้านไม่แตกต่างกัน 3. นักเรียนสาธิตจุฬาฯ ที่มีผลสัมฤทธิ์ททางการเรียนต่างกัน จะมีคะแนนความสามารถทางความคิดเชื่อมโยง และเชิงมโนทัศน์แตกต่างกัน 4. กลุ่มนักเรียนสาธิตจุฬาฯ ที่เป็นบุตรบุคลากรจุฬาฯ มีคะแนนความสามารถทางความคิดเชิงเชื่อมโยง และความสามารถทางความคิดเชิงมโนทัศน์ โดยเฉลี่ยต่ำกว่ากลุ่มนักเรียนที่เป็นบุตรบุคคลภายนอก และกลุ่มนักเรียนที่เป็นบุตรอาจารย์จุฬาฯ 5. นักเรียน ป.5 สาธิตจุฬาฯ มีคะแนนความสามารถทางความคิดเชื่อมโยง และความสามารถทางด้านเความคิดเชิงมโนทัศน์ โดยเฉลียสูงกว่ากลุ่มนักเรียนในกรุงเทพมหานครen
dc.description.abstractalternativeThe main puprposes of this research are to study the associative ability and conceptual ability of the 5th grade students of Satit Chulalongkorn University Demonstration School and tp compare these abilities among the students with different personal backgrounds. A sample consisted of 154 5th grade student of CUD school. Data were collected by a questionnaire, a digit span test and a standard progressive metrices test. Percentage, arithmatic mean, standard deviation, t0test and F-test were employed to analize the ontained data. The major research findings can be summarized as follows: 1) The association anc conceptual abilities of the 5th grade students of CUD school are at the good level. 2) There is no significant different in both abilities among the students with different back grounds in associative and conceptual abilities. 3) The students with different learning achievement have significantly different. 4) The students whose parents are CU's personnel have lower abilities than that of the students whose parents are CU's Facult and the students whose parents are neither CU's personnel nor CU's Faculty. 5) The associative and conceptual abilities of the 5th grade students of CUD school are gigher that the average of both abilities performed by the rest of the 5th grade students in Bangkok area.en
dc.format.extent6855632 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม)--นักเรียนen
dc.subjectการเรียนรู้ (จิตวิทยา)en
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษาen
dc.subjectความคิดรวบยอดen
dc.titleความสามารถทางความคิดเชิงเชื่อมโยง และความสามารถทางความคิดเชิงมโนทัศน์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.title.alternativeAssoicative ability and conceptual ability of Satit Chulalongkorn's 5th grade studentsen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Edu - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vanida(link).pdf6.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.