Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68116
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอม อินทกรณ์-
dc.contributor.authorขนิษฐา เสริมศิริโภคา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-09-23T02:35:48Z-
dc.date.available2020-09-23T02:35:48Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743310452-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68116-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเจตคติของ ผู้ป่วยจิตเภทที่มีต่อ การรักษาด้วยไฟฟ้า โดยเปรียบเทียบระหว่างก่อนรักษาและหลังรักษา และดูความแตกต่างระหว่างเจตคติของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้าชนิดไม่ดัดแปลงและชนิดดัดแปลงหลังได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า โดยใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 85 คน เป็นผู้ป่วยจิตเภทที่ได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้าชนิดไม่ดัดแปลง จำนวน 47 คน และผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า ชนิดดัดแปลง จำนวน 38 คน ผลการวิจัย พบว่าหลังได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า เจตคติของผู้ป่วยจิตเภทที่ได้รับการรักษาด้วยไฟ้ฟ้า ทั้ง 2 ชนิด ดีขึ้นกว่าก่อนได้รับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยผลเช่นนี้ยังคงอยู่ไปอีก 6 อาทิตย์ แต่ไม่พบความแตกต่างของเจตคติของ ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้าชนิดไม่ดัดแปลง กับผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้าชนิดดัดแปลง อย่างไรก็ตาม มีการอภิปรายผลในส่วนนี้ นอกจากนี้พบว่าความกลัวเฉพาะด้าน มีความสัมพันธ์ทางลบ กับ เจตคติ และพบว่าหลังได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้าไปแล้ว 6 อาทิตย์ ความกลัวเฉพาะด้านของผู้ป่วยจิตเภทชนิดไม่ดัดแปลงมากกว่าผู้ป่วยจิตเภทชนิดดัดแปลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนผลข้างเคียงของผู้ป่วยไม่พบว่ามีความสัมพันธ์กับเจตคติต่อการรักษาด้วยไฟฟ้า สำหรับ อายุ ประสบการณ์การได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า และระดับการศึกษา ทำให้เจตคติของผู้ป่วยจิตเภทมีความแตกต่างกัน-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to compare the attitudes of the schizophrenic patients toward electroconvulsive therapy (ECT) before and after treatment and the attitudes of patients who received unmodified and modified ECT. The subjects consisted of 47 unmodified and 38 modified ECT patients. The author found that the mean of attitude in post-treatment were significantly (p<.01) more favorable than pre-treatment, and also persisted along 6 weeks after treatment. By the way, there was no difference in attitudes toward ECT between the patients who received unmodified and modified ECT. However, the implication of this finding is discussed. Besides, there was negative correlation between the specific fear and attitude. And 6 weeks after treatment, in the specific fear, the unmodified ECT patients were significantly (p<.05) more dreadful than the modified ECT patients. In addition, there was no correlation between the adverse effects and the attitude. Age, education and experienced in ECT make significantly difference in the attitude toward ECT.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้ป่วยจิตเภทen_US
dc.subjectการรักษาด้วยไฟฟ้าen_US
dc.subjectทัศนคติen_US
dc.subjectSchizophrenicsen_US
dc.subjectElectrotherapeuticsen_US
dc.subjectAttitude (Psychology)en_US
dc.titleเจตคติของผู้ป่วยจิตเภทต่อการรักษาด้วยไฟฟ้าen_US
dc.title.alternativeSchizophrenic patients attitudes toward electroconvulsive therapyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanittha_se_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.02 MBAdobe PDFView/Open
Kanittha_se_ch1_p.pdfบทที่ 1979.64 kBAdobe PDFView/Open
Kanittha_se_ch2_p.pdfบทที่ 22.48 MBAdobe PDFView/Open
Kanittha_se_ch3_p.pdfบทที่ 3793.89 kBAdobe PDFView/Open
Kanittha_se_ch4_p.pdfบทที่ 42.66 MBAdobe PDFView/Open
Kanittha_se_ch5_p.pdfบทที่ 51.38 MBAdobe PDFView/Open
Kanittha_se_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.