Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68161
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กาญจนา แก้วเทพ | - |
dc.contributor.advisor | ธรรมเกียรติ ก้นอริ | - |
dc.contributor.author | มิ่งขวัญ เจียประเสริฐ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-09-25T02:10:19Z | - |
dc.date.available | 2020-09-25T02:10:19Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743328777 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68161 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | - |
dc.description.abstract | พัฒนาการของการพากย์ภาพยนตร์ในประเทศไทยมีปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยน แปลงทั้งปัจจัยภายนอก ได้แก่ ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี, ปัจจัยด้านบทพากย์ภาพยนตร์, ปัจจัย ด้านประเภทของ ภาพยนตร์, ปัจจัยด้านประเภทของสื่อ และการครอบงำทางวัฒนธรรม และยังมี ปัจจัยภายในคือ ปัจจัยด้านนักพากย์ ทั้งหมดมีผลกระทบต่อการคงอยู่ของการพากย์ภาพยนตร์ในอนาคต ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยเหล่านี้ส่งผลกระทบไปสู่รูปแบบและวิธีการพากย์ในแต่ละยุค สมัย ซึ่งมีปัจจัยทางด้านเทคโนโลยีเป็นตัวแบ่งซึ่งสามารถแบ่งได้ 5 ยุคคือ ยุคภาพยนตร์เงียบ, ยุค ภาพยนตร์เสียง, ยุคกำเนิดโทรทัศน์ , ยุคบันทึกเสียงและ ยุคบันทึกเสียงโดยการคัดเลือกเสียง (Voice Casting) โดยการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ส่งผลไปถึงประสิทธิภาพของวิธีการพากย์, คุณ ภาพของงานพากย์ และตัวนักพากย์เอง และเนื่องจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีนี้เองจึง ทำให้ คุณภาพของการพากย์ลดลงจากเดิม เพราะการเรียกร้องทักษะเฉพาะตัวของนักพากย์เริ่มไม่มี ความจําเป็นอีกต่อไป นอกจากนั้นยังพบว่า การพากย์ภาพยนตร์จะคงอยู่ต่อไปในอนาคต เนื่องจากบริบทของสังคมไทยที่ผู้ชมยังมีการศึกษาน้อย จึงนิยมภาพยนตร์ที่มีการพากย์มากกว่า เพราะการ บรรยายอักษรใต้ภาพไม่สามารถเข้ามาทดแทนการพากย์ภาพยนตร์ และเนื่องจากการพากย์ไม่ มีกระบวนการฝึกสอนอบรมที่เป็นระบบ จึงทำให้นักพากย์ไม่มีโอกาสเรียนรู้และมีคุณภาพลดลง ในขณะเดียวกัน นักพากย์เป็นปัจจัยสำคัญที่ต้องปรับตัวตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และ ไม่ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไป อย่างไร นักพากย์ยังคงเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้การพากย์คงอยู่ | - |
dc.description.abstractalternative | Development of Dubbing in Thailand has 5 external factors: Technology, Dubbing Script, Movie Type, Media Type and Globalization including 1 internal factor Dubbing Artist. All these factors effect to the change and continue of the dubbing system in the future. According to the research, all these factors effect to dubbing system in each period, which categorize by Technology factor in 5 periods: Silent Movie period / Sound Movie period / Television period / Recording period and Recording by Voice Casting period. These changes effect to the way of dubbing and quality of the movie including the dubbing artist. Cause of the development of Technology decrease the quality of the dubbing artist because the dubbing skill is no required and unnecessary. The research also shows that Dubbing will be continue in the future because the context of the big volume of the audience education is under standardize so the Dubbing is more preferable and cannot be replace by Subtitling. Because informal training and learning system so Dubbing Artist has no chance to develop the dubbing quality which will decrease their quality in the same time. Anyway, Dubbing Artist is the most important factor to remain the dubbing system even though technology keeps changing but dubbing artist has to adapt all the time for fitting themselves through higher technology. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | ภาพยนตร์ -- ไทย | - |
dc.subject | การพากย์ภาพยนตร์ | - |
dc.title | พัฒนาการการพากย์ภาพยนตร์ในประเทศไทย | - |
dc.title.alternative | Development of dubbing in Thailand | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | การสื่อสารมวลชน | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Mingkwan_je_front_p.pdf | 963.85 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Mingkwan_je_ch1_p.pdf | 1.8 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Mingkwan_je_ch2_p.pdf | 2.28 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Mingkwan_je_ch3_p.pdf | 969.55 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Mingkwan_je_ch4_p.pdf | 5.9 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Mingkwan_je_ch5_p.pdf | 6.07 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Mingkwan_je_ch6_p.pdf | 877.48 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Mingkwan_je_ch7_p.pdf | 1.54 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Mingkwan_je_back_p.pdf | 6.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.