Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68227
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วันชัย ริ้วไพบูลย์ | - |
dc.contributor.author | อภิรักษ์ โชติกิตติพร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาลตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-09-28T06:09:14Z | - |
dc.date.available | 2020-09-28T06:09:14Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743336869 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68227 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | - |
dc.description.abstract | การพัฒนาแอพพลิเคชันในปัจจุบันใช้อ็อบเจ็คท์เทคโนโลยีเป็นหลักโดยใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงวัตถุ อย่างไรก็ตามตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา การจัดเก็บข้อมูลส่วนใหญ่จัดเก็บบนระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีต่างประเภทกัน ดังนั้นเพื่อให้สามารถนำข้อมูลซึ่งจัดเก็บบนระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ มาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีความจำเป็นต้องแปลงฐานข้อมูลบนระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เป็น ฐานข้อมูลบนระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงวัตถุ ในการวิจัยครั้งนี้ ได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์หาวิธีการในการแปลงฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นฐานข้อมูล เชิงวัตถุ พบว่าขั้นตอนการแปลงฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นฐานข้อมูลเชิงวัตถุประกอบด้วย 5 ขั้นตอนคือ ขั้นตอนที่หนึ่งแปลงแผนแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นแผนแบบเชิงวัตถุ ขั้นตอนที่สองปรับแผนแบบเชิงวัตถุให้ถูกต้องมากขึ้น ขั้นตอนที่สามแปลงประเภทข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นประเภทข้อมูลเชิงวัตถุ ขั้นตอนที่สี่สร้างแฟ้มข้อความนิยามคลาสด้วยภาษา C++ บนระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงวัตถุ ขั้นตอนที่ห้านำแฟ้มข้อความนิยามคลาสมาสร้างฐานข้อมูลบนระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงวัตถุ การพัฒนาระบบแปลงฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นฐานข้อมูลเชิงวัตถุตามขั้นตอนที่วิเคราะห์ ใช้ Microsoft Visual C++ 6.0 เป็นเครื่องมือในการพัฒนา โดยพัฒนาบน Microsoft Windows NT 4.0 ใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Microsoft SQL Server 7.0 และระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงวัตถุ POET เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลสำหรับการทดสอบ ผลการทดสอบโปรแกรมสามารถแปลงฐานข้อมูลได้ถูกต้องเป็นที่น่าพอใจระดับหนึ่ง ผลของการวิจัย จะกระตุ้นให้มีการคิดค้นและพัฒนาวิธีการในการนำข้อมูลซึ่งมีอยู่แล้วในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์โป ใช้กับอ็อบเจ็คท์เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ | - |
dc.description.abstractalternative | The development of applications is currently based upon the Object Technology where the database is the Object Oriented Database Management System (OODBMS). However, most of the existing databases have been conducted on the Relational Database Management System (RDBMS). The OODBMS and the RDBMS are different types of technology. In order to make the efficient use of the database on the RDBMS, the transformation of the data on the RDBMS into that on the OODBMS is needed. The study focuses on the analysis of converting the relational database into the object database and reveals five conversion processes which are Transforming the Relational Database Schema to the Object Model; Refining the Object Model; Mapping the Relational Data Types to the Object Data Types; Generating C++ Class Definition Files; and Creating the Object Database. In developing the program, Microsoft Visual C++, Microsoft SQL Server 7.0 and POET are used under the environment of Microsoft Windows NT 4.0. The result satisfactorily shows that the converted database is accurate and consistent. The implication of the study is to encourage further studies and development of the use of the existing relational database in the Object Technology. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ | - |
dc.subject | ฐานข้อมูลเชิงวัตถุ | - |
dc.title | การแปลงฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นฐานข้อมูลเชิงวัตถุ | - |
dc.title.alternative | Relational database to object-oriented database transformation | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Apirak_ch_front_p.pdf | 1.06 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Apirak_ch_ch1_p.pdf | 686.17 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Apirak_ch_ch2_p.pdf | 1.45 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Apirak_ch_ch3_p.pdf | 1.76 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Apirak_ch_ch4_p.pdf | 1.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Apirak_ch_ch5_p.pdf | 3.29 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Apirak_ch_ch6_p.pdf | 644.66 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Apirak_ch_back_p.pdf | 2.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.