Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68291
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีนา ชวนิชย์-
dc.contributor.advisorอมร เพชรสม-
dc.contributor.authorอรอุมา แก้วกล้า-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-05T08:03:45Z-
dc.date.available2020-10-05T08:03:45Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743331778-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68291-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542-
dc.description.abstractจากการหาวิธีที่เหมาะสมในการทำคานามัยซินที่ผลิตจาก Streptomyces kanamyceticus UUNNK1 ให้บริสุทธิ์ โดยเปรียบเทียบจำนวนครั้งที่ผ่านส่วนน้ำใสที่ได้จากน้ำหมักอาหารเลี้ยงเชื้อลงคอลัมน์ที่มีเรซินแอมเบอร์ไลต์ IRC-50 ในรูปโซเดียม 1 2 และ 3 ครั้ง หลังจากนั้นกำจัดสีด้วยผงถ่านกัมมันต์ และเก็บในรูปตะกอนซัลเฟต พบว่ามีเปอร์เซ็นต์ความบริสุทธิ์ของคานามัยซินเท่ากับ 63.0 79.2 และ 86.4 เปอร์เซนต์ ตามลำดับ และปริมาณซองคานามัยซินที่ได้เท่ากัน 51.5 46.8 และ 32.7 เปอร์เซนต์ ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณคานามัยซินในส่วนน้ำใสตั้งต้นคิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ และภาวะที่เหมาะสมต่อการกำจัดสีของคานามัยซินด้วยผงถ่านกัมมันต์ คืออยู่ในรูปของคานามัยซินซัลเฟต ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 30 นาที และปริมาณผงถ่านที่ใช้คือ 0.1 -0.2 กรัมต่อ 100 มิลลิลิตร จากการทำโครมาโตกราฟแบบผิวบาง โดยใช้ส่วนบนของตัวทำละลายที่มีส่วนผสมของคลอโรฟอร์ม : เมธานอล : แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ ด้วยอัตราส่วน 2:1:1 นำมาตรวจสอบแถบด้วยสารละลายนินไฮดริน สามารถแยกสารออกได้แถบเดียว มีลักษณะเป็นหางยาวได้ค่า R, เท่ากับ 0.56 และสารมาตรฐานคานามัยซินเอ ซัลเฟต มีค่า R, เท่ากับ 0.62 จากการวิเคราะห์โครงสร้างของสารปฏิชีวนะ ด้วยวิธีอินฟราเรด สเปกโตรสโกปี และ นิวเคลียร์ แมกเนติค เรโซแนนซ์ พบว่าสารปฏิชีวนะชนิดนี้เป็นอนุพันธ์หนึ่งของคานามัยซิน-
dc.description.abstractalternativeOptimal conditions for purification of kanamycin produced by S treptomyces kanamyceticus UUNNK1, were investigated. The filtrated broth passing through the sodium form of Amberiite IRC-50 column for 1, 2 and 3 times. Then, kanamycin was decolorized by activated charcoal and precipitated in sulfate form. The percent of purity was 63.0, 79.2 and 86.4 % 1 respectively, the amounts of antibiotic obtained were 51.5, 46.8 and 32.7 %, respectively in compared with the amounts of 100 % original kanamycin. It was found that the optimal conditions for decolorization of kanamycin in sulfate form to remove impurity were: 0.1-0.2 gram of activated charcoal added to the 100 ml. extract, stirring at 30 °c for 30 minute. Thin- Layer Chromatography of antibiotic was also investigated by using solvent mixture of chloroform: methanol: ammonium hydroxide in 2: 1: 1 ratio and bands were detected by ninhydrin solution. The antibiotic was separated into only one long- tail band with R, value 0.56 while the R, value of kanamycin A sulfate was 0.62. The structure of antibiotic was analyzed by Infrared Spectroscopy and Nuclear Magnetic Resonance. It was found that the antibiotic was identified as derivative of kanamycin.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectStreptomyces kanamyceticus UUNNK1-
dc.subjectปฏิชีวนะ-
dc.titleการทำคานามัยซินจาก Streptomyces kanamyceticus UUNNK1 ให้บริสุทธิ์-
dc.title.alternativePurification of kanamycin from Streptomyces kanamyceticus UUNNK1-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineจุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Onuma_ka_front_p.pdf934.62 kBAdobe PDFView/Open
Onuma_ka_ch1_p.pdf748.44 kBAdobe PDFView/Open
Onuma_ka_ch2_p.pdf1.83 MBAdobe PDFView/Open
Onuma_ka_ch3_p.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
Onuma_ka_ch4_p.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open
Onuma_ka_ch5_p.pdf939.83 kBAdobe PDFView/Open
Onuma_ka_back_p.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.