Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68368
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบัณฑิต เอื้ออาภรณ์-
dc.contributor.authorอรรถกร กรุณานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-07T01:50:33Z-
dc.date.available2020-10-07T01:50:33Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743336028-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68368-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542-
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้นำเสนอวิธีการประยุกต์ใช้ทฤษฎีฟัซซีในการจำลองและจัดการกับความไม่แน่นอนในการประเมินค่าความเชื่อถือได้และการวางแผนของระบบผลิตไฟฟ้า สำหรับวิธีการดังกล่าวจะอาศัยหลักการของฟัซซีเซตร่วมกับทฤษฎีความน่าจะเป็น โดยแบบจำลองของระบบผลิตไฟฟ้าจะอาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็นสำหรับใช้แสดงถึงรอบการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าอย่างไรก็ตาม ค่าอัตราการเสียและอัตราการซ่อมแซมจะเป็นตัวเลขฟัซซีแทนค่าเฉลี่ยซึ่งใช้กันทั่วไป ในส่วนของแบบจำลองของโหลด ลักษณะของโหลดประเภทต่าง ๆ จะแสดงผ่านตัวเลขฟัซชีเพื่อแสดงถึงความไม่แน่นอนของค่าโหลดที่ได้จากการพยากรณ์ และที่ใช้ในการประเมินค่ากำลังการผลิตที่เหมาะสม ค่าความเสียหายของผู้ใช้ไฟฟ้าจะกำหนดเป็นตัวเลขฟัซซีซึ่งได้จากระบบการวินิจฉัยเชิงฟัซซีเพื่อแสดงถึงลักษณะการกระจายของข้อมูลที่ได้จากการเก็บตัวอย่าง แนวคิดดังกล่าวจะทำให้เราสามารถจัดการกับความไม่แน่นอนที่อยู่ในส่วนผลิตและส่วนของผู้ใช้ได้อย่างเหมาะสมมากขึ้น วิธีที่นำเสนอนี้จะนำไปทดสอบกับระบบทดสอบของ IEEE (IEEE-RTS) และผลที่ได้รับจะนำแสดงเปรียบเทียบกับผลที่ได้จากวิธีการแบบดั้งเดิม โดยผลจากการเปรียบเทียบแสดงให้เห็นว่า ผลลัพธ์ที่ได้จากวิธีที่นำเสนอนี้จะให้ข้อมูลเพื่อการวางแผนการผลิตไฟฟ้าที่เป็นประโยชน์และครอบคลุมมากกว่าผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณโดยวิธีแบบดั้งเดิม-
dc.description.abstractalternativeThis thesis presents the application of fuzzy theory in modelling and dealing with uncertainties in electrical power generation reliability evaluation and planning. The proposed method employs fuzzy set concepts together with probabilistic theory. In generation modelling, probabilistic concept is used to represent the failure-repair cycle of generating units. However fuzzy numbers, instead of expected values, are used to represent failure and repair rates. In load modelling, several types of load curves are described by fuzzy numbers in order to represent uncertainty in the forecasted load. Finally, in optimum reserve level evaluation, the customer interruption cost is also described by fuzzy numbers obtained from the fuzzy inference system (FIS) to represent the deviation of the collected damage cost data. With the proposed method, the uncertainties embedded in both generation and demand sides can be handled more appropriately than by a conventional method. The method has been tested on an IEEE-RTS. The obtained results have been compared with the ones obtained from a conventional probabilistic based method. The comparison shows that the results obtained from the proposed method will provide broader and useful information for power generation planning purposes.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectทฤษฎีฟัสซี-
dc.subjectฟัสซีเซต-
dc.subjectความเชื่อถือได้-
dc.subjectระบบไฟฟ้ากำลัง -- การจ่ายโหลด-
dc.titleการประยุกต์ใช้ทฤษฎีฟัซซีในการประเมินค่าความเชื่อถือได้และกำลังผลิตสำรองที่เหมาะสมของระบบผลิตไฟฟ้า-
dc.title.alternativeThe application of fuzzy theory in electrical power generation reliability and optimum reserve level evaluation-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้า-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Auttagron_ka_front_p.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
Auttagron_ka_ch1_p.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Auttagron_ka_ch2_p.pdf1.76 MBAdobe PDFView/Open
Auttagron_ka_ch3_p.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open
Auttagron_ka_ch4_p.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open
Auttagron_ka_ch5_p.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open
Auttagron_ka_ch6_p.pdf678.66 kBAdobe PDFView/Open
Auttagron_ka_back_p.pdf838.7 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.