Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68404
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัฒนา สุวรรณแสง จั่นเจริญ-
dc.contributor.advisorสุวาณี สุรเสียงสังข์-
dc.contributor.authorภาวิต กองแกัว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-07T08:25:02Z-
dc.date.available2020-10-07T08:25:02Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.issn9743317686-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68404-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการดำเนินการของกองทุนชราภาพ เป็นลักษณะของการจ่ายเงินสมทบโดยกำลังแรงงานที่เป็นผู้ประกันตนในกองทุนชราภาพ เพื่อให้กองทุนจ่ายประโยชน์ทดแทนแก่ผู้สูงอายุที่เกษียณอายุ โดยแนวโน้มของการมีอายุยืนยาวขึ้นของประชากรเนื่องจากการสาธารณสุขที่ก้าวหน้าทำให้เป็นภาระของกองทุนในด้านการจ่ายประโยชน์ทดแทน ในอีกด้านหนึ่งคือการลดลงของกำลังแรงงานเนื่องด้วยการวางแผนครอบครัวที่มีประสิทธิภาพและการใช้ระยะเวลาในการศึกษายาวนานขึ้น อันจะทำให้จำนวนผู้ประกันตนในกองทุน ชราภาพลดลง จึงได้ทำการศึกษาถึงความคงอยู่ของกองทุนชราภาพ ในช่วงระยะเวลาการศึกษา 30 ปี คือตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 - 2571 เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเพื่อให้กองทุนชราภาพมีเสถียรภาพ การศึกษาครั้งนี้ได้ใช้ปริมาณเงินกองทุนชราภาพในแต่ละปี เป็นตัวชี้วัดถึงสถานภาพความคงอยู่ของกองทุนชราภาพ ซึ่งสามารถคำนวณได้จากผลต่างระหว่างด้านรายรับ และด้านรายจ่ายของกองทุนชราภาพในแต่ละปี โดยมีสมมติฐานในการศึกษาด้านต่าง ๆ 3 ด้าน กล่าวคือ สมมติฐานด้านการจ่ายเงินสมทบ สมมติฐานด้านผลตอบแทนจากการลงทุน และสมมติฐานด้านประโยชน์ทดแทน ผลการศึกษา พบว่าในกรณี ของการจ่ายเงินสมทบในอัตราร้อยละ 1 ณ ระดับผลตอบแทนจากการลงทุนระดับปานกลาง และประโยชน์ทดแทนระดับปกติ ว่าปริมาณเงินกองทุนชราภาพจะติดลบในปี พ.ศ. 2571 เป็นปีแรก และถ้าปรับอัตราการจ่ายเงินสมทบให้มากกว่าเดิม จากร้อยละ 1 เป็นร้อยละ 1.5 และ 2 นั้น จะพบว่ากองทุนสามารถคงอยู่ได้โดย ปริมาณเงินกองทุนชราภาพไม่ติดลบในช่วงระยะเวลาการศึกษา อย่างไรก็ดีอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนถือว่าเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการคงอยู่ของกองทุนชราภาพ โดยที่ในกรณีของสมมติฐานการจ่ายเงินสมทบ ร้อยละ 1 ณ อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนระดับสูง และประโยชน์ทดแทนระดับปกตินั้น กองทุนสามารถที่จะคงอยู่ได้ โดยมิได้มีปริมาณเงินติดลบแต่อย่างใด ดังนั้นจึงควรมีการบริหารกองทุนให้มีประสิทธิภาพเพื่อความคงอยู่ของกองทุนชราภาพในระยะยาว-
dc.description.abstractalternativeThe Function of Pension Fund is for worker to insure themselves through the fund for their future return benefits at the time when they retire. The incremental reimbursements burden on the fund to accelerate in line with the longer life-span effected by more advanced health care, a declining workforce frittered by more efficient family-planning, and prolonged education system. These factors will reduce number of new insurers. The aforementioned reasons induce the analysis of the sustainability of the pension fund, by studying it over the period of 30 years from 1999 to 2019. The aim of the study is to create a guide for appropriate way for the government to design both short-term and long-term sustainability of the fund. The study use the amount of the Fund money supply in each year as an indicator measuring the Fund's sustainability provide that three assumptions are adopted including, assumption on disbursements, on returns from investment and on returned benefits. In the case of 1% disbursement rate at the medium level of investment's return and normal returned benefit, the study found that the Fund's money supply will show the first, negative sign in 2019. Besides, if the disbursement rate is adjusted to increase to 1.5 or 2%, the study discovered that the sustainability of the Fund, showed no negative sign during the designed period of study. However, returns from investment is important factor for sustainability of the Fund. As a result, the study does suggest the efficiency of the fund's management for the long-term sustainability of the Fund.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectประกันกรณีชราภาพen_US
dc.subjectกองทุนชราภาพen_US
dc.subjectกองทุนประกันสังคมen_US
dc.subjectการวางแผนผู้สูงอายุen_US
dc.subjectPension trustsen_US
dc.titleการวิเคราะห์ความสามารถในการคงอยู่ของกองทุนชราภาพในภาคเอกชน 2542-2571en_US
dc.title.alternativeThe analysis of sustainsability of pensions fund in private sector during 1999-2029en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWattana.S@chula.ac.th-
dc.email.advisorsuwanee@acc.chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pawit_ko_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ389.48 kBAdobe PDFView/Open
Pawit_ko_ch1.pdfบทที่ 1246.66 kBAdobe PDFView/Open
Pawit_ko_ch2.pdfบทที่ 21.31 MBAdobe PDFView/Open
Pawit_ko_ch3.pdfบทที่ 3590.44 kBAdobe PDFView/Open
Pawit_ko_ch4.pdfบทที่ 4548.62 kBAdobe PDFView/Open
Pawit_ko_ch5.pdfบทที่ 5171.58 kBAdobe PDFView/Open
Pawit_ko_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.