Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68406
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภกนก ทองใหญ่-
dc.contributor.authorเสาวรภย์ ภารัญนิตย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-10-07T08:35:43Z-
dc.date.available2020-10-07T08:35:43Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743346198-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68406-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542-
dc.description.abstractการประยุกต์ใช้สถิติมาอธิบายผลของปรากฎการณ์การแยกเฟสแบบสปินนูดอล (Spinodal Decomposition ) โดยในงานวิจัยนี้ จะวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลองโดยใช้ทฤษฎีของคาน-ฮิวลาร์ด (Cahn -Hilliard ) และทฤษฎีของแลงเกอร์-บาร์ออน-มิลเลอร์ (Langer , Bar-On and Miller) ซึ่งข้อมูลที่ นำมาวิเคราะห์ได้จากการวัดโดยใช้เครื่องการกระเจิงแสงที่มุมแคบ (Small Angle Light Scattering - SALS ) ของพอลิเมอร์ผสมของเตตระเมทิวบิสฟีนอลพอลิคาร์บอเนต (Tetramethyl Bisphenol Apolycarbonate - TMPC ) และพอลิสไตรีน (Polystyrene - PS) ที่ส่วนประกอบ 30% wt , 50% wt และ 70% wt ของ TMPC ที่อุณหภูมิต่าง ๆ โดยข้อมูลนี้ได้จากการเตรียมตัวอย่าง 2 วิธี คือ วิธีหลอมเหลว (Melt Mix) และวิธีหล่อด้วยตัวทำละลาย (Solvent Casting) ตัวแปรที่นำมาพิจารณา คือ ค่าความเข้มแสง , มุมการกระเจิงแสง และเวลา เพื่อหาวิธีวิเคราะห์ผลทางสถิติของปรากฎการณ์การแยกเฟสแบบสปินนูดอล และความแตกต่างของสมการทั้งสอง โดยจะนำไปหาค่าพารามิเตอร์แต่ละเทอมของปรากฎการณ์การแยกเฟสแบบสปินนูดอลโดยใช้วิธีวิเคราะห์ความถดถอยแบบนอนลิเบียร์ ในการเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ระหว่างสมการแลงเกอร์-บาร์ออน-มิลเลอร์ กับเทอมของคาน-ฮิวลาร์ด จะเห็นได้ว่า สมการแลงเกอร์-บาร์ออน-มิลเลอร์ สามารถอธิบายชุดข้อมูลนี้ได้ดีกว่าสมการคาน-ฮิวลาร์ด และจากการเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์จากวิธีการเตรียมตัวอย่างทั้ง 2 วิธี พบว่า สมการแลงเกอรบาร์ออน-มิลเลอร์ สามารถอธิบายชุดข้อมูลของวิธีหลอมเหลวได้ดีกว่าวิธีหล่อด้วยตัวทำละลาย-
dc.description.abstractalternativeApplication of statistics method to described spinodal decomposition phenomenon of polymer blends by comparing Cahn-Hilliard equation and Langer, Bar-on and Miller equation were explored. The raw data were obtained from using Small Angle Light Scattering (SALS) of the polymer blends between Tetramethyl Bisphenol A polycarbonate (TMPC) and Polystyrene (PS) at 30% wt, 50% wt and 70% wt of TMPC by solvent casting method and 50% wt TMPC by melt mix method at different temperatures. The variables were scattering intensity, scattering angle and time. The suitable statistics nonlinear regression were choosen and verified. The Langer, Bar-on and Miller equation was more suitable to the raw data than Cahn-Hilliard equation. Moreover the Langer, Bar-on and Miller was proved to be the better theory to explain the melt mix data than the solvent casting data.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectโพลิเมอร์ผสม-
dc.subjectการแยกเฟสแบบสปินนูดอล-
dc.subjectแสง -- การกระเจิง-
dc.subjectSpinodol decomposition-
dc.subjectPhase partition-
dc.subjectCahn-Hilliard equation-
dc.subjectLanger, Bar-On and Miller equation-
dc.titleการหาค่าพารามิเตอร์สำหรับสมการที่ดัดแปลงจากสมการคาน-ฮิวลาร์ด (สมการแลงเกอร์-อาร์ออน-มิลเลอร์) โดยใช้วิธีวิเคราะห์แบบนอนลิเนียร-
dc.title.alternativeCalculated parameters from modified cahn-hilliard equation (langger, bar-on and miller equation by nonlinear regression-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมี-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saowarop_pa_front_p.pdf970.27 kBAdobe PDFView/Open
Saowarop_pa_ch1_p.pdf713.6 kBAdobe PDFView/Open
Saowarop_pa_ch2_p.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open
Saowarop_pa_ch3_p.pdf741.63 kBAdobe PDFView/Open
Saowarop_pa_ch4_p.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open
Saowarop_pa_ch5_p.pdf658.36 kBAdobe PDFView/Open
Saowarop_pa_back_p.pdf912.05 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.