Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68457
Title: Mother's satisfaction with delivery services and strategies for improvement of delivery services at Tribhuvan University Teaching Hospital in Nepal
Other Titles: ความพึงพอใจของมารดาที่มารับบริการการคลอด และกลยุทธ์การพัฒนาบริการที่โรงพยาบาลทริบฮูวานยูนิเวอซิตี้ทีชชิ่งในเนปาล
Authors: Jamuna Tamrakar Sayami
Advisors: Chanwit Kotheeranurak
Piyalumporn Havanond
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
Subjects: User satisfaction
Hospital nursing services
Mothers
ความพอใจของผู้ใช้บริการ
บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล
มารดา
Issue Date: 1998
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Objective: To study the mother's satisfaction with delivery services indifferent locations of care in relation to doctor care, nursing care and servicefacilities and formulate strategic issues to improve the delivery services in theTribhuvan University Teaching Hospital and increase satisfaction of mothers. Design: A cross sectional descriptive study design. Setting: Tribhuvan University Teaching Hospital Maternity Ward. Subjects: Mothers who delivered in the TUTH during the survey period. Hospitalstaff in three groups nurses, doctors and management team. A total of 339 subjectswere randomly selected with eligibility criteria. Method: The study is quantitative as well as qualitative. A structuredinterview questionnaire was use for data collection of mothers who delivered in thehospital for the satisfaction ratings during May to August 1998. Focus groupdiscussion sessions were conducted with hospital staff in three groups to collectinformation about formulation of strategic issues for improvement of deliveryservices. Results: The background characteristics results show that the mean age ofrespondents is 23.49 years. The education status are 16.2% illiterate, 38.1%secondary school, 30.7% college and rest are other categories. Employment status are72.2% housewives and farmers and 27.8% are service holders. Median monthly familyincome is Rs 5000. Likewise obstetric data shows 49% primi para, 89.1% had antenatalcare visit and 59.6% are the normal delivery. The proportion of mothers stisfied with overall delivery services is 96.5%.However separate scale analysis of three dimensions of delivery services are slightlydifferent. There are 86.7% satisfied in doctor care dimension, 92.9% satisfied innursing care dimension and 87.9% in service facility. The statistically significant association found at alpha level 0.05 when x('2) testwas performed in two by two contingency table in the satisfaction dimension andbackground characteristic variables. Such as satisfaction with doctor care dimensionand parity of mothers at p=0.016 where multi parus mothers are more satisfied thanprimi paras. Similarly satisfaction in nursing care and monthly family income showedassociation at p=0.048 where less income category are satisfied than more incomecategory. The qualitative data revealed strategies for improvement as prompt need toimprove sanitation facilities, increase beds and staff number, additional supply ofinstruments, initiate patient orientation and staff development activities and obtainautonomy in decision making etc.
Other Abstract: วัตถุประสงค์การศึกษา : เพื่อศึกษาความพึงพอใจของมารดาต่อการบริการทำคลอดในสถานที่ที่แตกต่างกันในเรื่องการดูแลคนไข้ของแพทย์ การพยาบาล และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ รวมถึงการวางระเบียบกฎเกณฑ์กลยุทธ์ต่างๆ เพื่อการปรับปรุงทางด้านการให้บริการทำคลอดในโรงพยาบาลทริบฮูวานยูนิเวอร์ซิตี้ และเพื่อเพิ่มความพึงพอใจของมารดา รูปแบบ : การวิจัยเชิงพรรณาแบบตัดขวาง แหล่งข้อมูล : โรงพยาบาลทริบฮูวานยูนิเวอร์ซิตี้ กลุ่มตัวอย่าง : มารดาที่เข้ามาคลอดบุตรในโรงพยาบาลระหว่างการสำรวจ;เจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลจำนวน 3 กลุ่ม: แพทย์, พยาบาล และคณะผู้บริหาร จำนวน339 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการศึกษา : ศึกษาเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยสร้างแบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลของมารดาที่มาคลอดบุตรในโรงพยาบาลระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนสิงหาคม 2541เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช้บริการ และมีการอภิปรายร่วมกับบุคลากรของโรงพยาบาลเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับการวางกฎเกณฑ์กลยุทธเพื่อการปรับปรุงการให้บริการของโรงพยาบาล สรุปผลการศึกษา : ผลการเก็บข้อมูลพื้นฐาน พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีอายุเฉลี่ย23.49 ปี พื้นฐานการศึกษาของมารดาคือ ไม่รู้หนังสือร้อยละ 16.2, ศึกษาในระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 38.1, ร้อยละ 30.7 ศึกษาในระดับวิทยาลัย และนอกเหนือจากนั้นศึกษาในระดับอื่นๆ สถานภาพการทำงาน ร้อยละ 72.2 เป็นแม่บ้าน และประกอบอาชีพเกษตรกรรมร้อยละ 27.8 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครอบครัว 5,000 รูปี ข้อมูลด้านสูติกรรม ร้อยละ 49 ตั้งครรภ์เป็นครั้งแรก นอกเหนือจากนั้นเป็นครรภ์ที่ 2 ขึ้นไป,ร้อยละ 89.1 มีการฝากครรภ์ที่โรงพยาบาล และร้อยละ 59.6 คลอดปกติ ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของมารดาต่อการรับบริการด้านสูติกรรมอยู่ในระดับร้อยละ 96.5 เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลออกเป็น 3 ส่วนในเรื่องของความพึงพอใจ พบว่ามีความแตกต่างกันไม่มากนัก ความพึงพอใจต่อการรักษาพยาบาลของแพทย์คิดเป็นร้อยละ 86.7 ความพึงพอใจในการพยาบาลร้อยละ 92.9 และความพึงพอใจในการบริการด้านสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ ร้อยละ 87.9 เมื่อใช้สถิติไคส์สแควร์เพื่อทดสอบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ ระหว่างข้อมูล 2 ตัวแปร ได้แก่ ความพึงพอใจและข้อมูลพื้นฐานของมารดา พบว่าการรักษาของแพทย์และจำนวนครั้งของการตั้งครรภ์มีความสัมพันธ์กันที่ระดับ p=0.016 โดยมารดาที่ตั้งครรภ์มากกว่าหนึ่งครั้งจะมีความพอใจมากกว่ามารดาที่ตั้งครรภ์เป็นครั้งแรกส่วนความพึงพอใจที่มีต่อการพยาบาลสัมพันธ์กับรายได้ของครอบครัวที่ระดับp=0.048 คือมารดาที่มีรายได้น้อยมีความพอใจต่อการพยาบาลมากกว่ากลุ่มที่มีรายได้มาก การวิจัยแสดงกลยุทธเพื่อการปรับปรุงการให้บริการด้านต่างๆ คือ การปรับปรุงด้านสุขอนามัย การเพิ่มจำนวนเตียงคนไข้และจำนวนเจ้าหน้าที่, การจัดหาเครื่องมือเพิ่มเติม, การให้ความรู้พื้นฐานแก่คนไข้ และการพัฒนาบุคลากร ตลอดจนให้อำนาจในการตัดสินใจดูแลรักษาคนไข้
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1998
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Health Development
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68457
ISBN: 9473310576
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jamuna_ta_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.2 MBAdobe PDFView/Open
Jamuna_ta_ch1_p.pdfบทที่ 1907.73 kBAdobe PDFView/Open
Jamuna_ta_ch2_p.pdfบทที่ 21.04 MBAdobe PDFView/Open
Jamuna_ta_ch3_p.pdfบทที่ 31.24 MBAdobe PDFView/Open
Jamuna_ta_ch4_p.pdfบทที่ 41.33 MBAdobe PDFView/Open
Jamuna_ta_ch5_p.pdfบทที่ 5797.87 kBAdobe PDFView/Open
Jamuna_ta_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.