Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6847
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมล แก้วกิติณรงค์-
dc.contributor.advisorวันล่า กุลวิชิต-
dc.contributor.authorณัฐพงษ์ เจียมจริยธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-05-08T10:28:53Z-
dc.date.available2008-05-08T10:28:53Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745327743-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6847-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการใช้เทคนิค PCR ตรวจน้ำเจาะปอดโดยเปรียบเทียบความไวและความจำเพาะจากปริมาณน้ำที่ส่งตรวจจำนวนต่างๆกันในการวินิจฉัยภาวะสารน้ำในโพรงปอดที่มีสาเหตุจากวัณโรค วิธีการวิจัย เป็นการศึกษาแบบพรรณนา ที่ทำในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีสารน้ำในโพรงปอดแบบเอกซูเดทที่เซลล์ลิมโฟซัยท์เด่นรายใหม่ที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ได้ทำการตรวจสารน้ำในโพรงปอดและตัดชิ้นเนื้อเยื่อหุ้มปอด เก็บข้อมูลการย้อมสีทนกรด การเพาะเชื้อ การตรวจทางพยาธิวิทยา โดยอาศัยเกณฑ์การวินิจฉัยวัณโรคเยื่อหุ้มปอด คือ พบเชื้อวัณโรค หรือลักษณะทางพยาธิวิทยาเข้าได้ และตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาต้านวัณโรค และผู้ป่วยที่ไม่เข้าเกณฑ์ดังกล่าวจัดเป็นกลุ่มควบคุม ขณะเดียวกันได้แบ่งสารน้ำโพรงปอดเป็นสี่จำนวนในแต่ละผู้ป่วย คือ 1 ml, 10 ml, 50 ml, และ 150 ml และส่งตรวจด้วยวิธี PCR ใช้สายพันธุกรรม IS6110 ผลการศึกษา ผู้ป่วยทั้งหมด 55 รายได้รับการวินิจฉัยเป็นวัณโรคเยื่อหุ้มปอด 29 ราย สาเหตุอื่น 26 ราย โดยที่สารน้ำที่พบผลบวกจาการตรวจด้วยวิธี PCR คือ สารน้ำ1 ml พบผลบวก 6 ราย, สารน้ำ 10 ml พบผลบวก 8 ราย, สารน้ำ 50 ml พบผลบวก 12 ราย, และสารน้ำ150 ml พบผลบวก 6 ราย โดยคิดเป็นความไวเท่ากับ 20.69%, 27.59%, 41.38%, and 20.69%, ตามลำดับ และความจำเพาะ 100% ทุกจำนวนของสารน้ำ สรุป การเพิ่มจำนวนสารน้ำโพรงปอดในการส่งตรวจเพื่อวินิจฉัยวัณโรคเยื่อหุ้มปอด โดยวิธี PCR สามารถเพิ่มความไวในการตรวจได้ แต่จำนวนสารน้ำที่มากเกินไปทำให้ความไวลดลงได้en
dc.description.abstractalternativeObjective: To compare diagnostic yields of four different volumes of pleural fluid by nested polymerase chain reaction. Material and method: A descriptive study was conducted in patients with lymphocytic exudative pleural effusion from December 2004 to November 2005. Diagnosis of TB pleuritis is made by identification of M.tuberculosis or typical histopathological findings. Patients with other final diagnoses served as a control group. Pleural fluids were divided into four different volumes of 1, 10, 50, and 150 ml. Nested PCR using primers targeting IS6110 was performed. Result: 29 patients and 26 controls were enrolled. In the TB group, 6, 8, 12, and 6 of 29 specimens of 1, 10, 50, and 150 ml showed positive PCR results (sensitivity of 20.69%, 27.59%, 41.38%, and 20.69%, respectively). All control samples revealed negative results in all volumes used. Conclusion: Higher volumes of pleural fluid increase a diagnostic sensitivity of tuberculous pleuritis by PCR to a certain extent. Too-large volumes, however, are unsuitable. Appropriate pleural fluid volumes should be verified in each laboratory.en
dc.format.extent980886 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1020-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพีซีอาร์en
dc.subjectชีวโมเลกุลen
dc.subjectวัณโรคปอดen
dc.subjectวัณโรคปอด -- การวินิจฉัยen
dc.titleการศึกษาความแตกต่างของจำนวนน้ำจากช่องโพรงปอดที่มีผลต่อการวินิจฉัยวัณโรคเยื่อหุ้มปอดโดยวิธีทางชีวโมเลกุลพีซีอาร์en
dc.title.alternativeEffect of different volume of pleural fluid for the diagnosis of tuberculous pleuritis by polymerase chain reaction techniqueen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1020-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nattapong.pdf957.9 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.