Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68571
Title: | การปรับปรุงเงื่อนไขการเผาไหม้ของโรตารีคิล์นในโรงงานปูนซีเมนต์ |
Other Titles: | Improvement of rotary kiln firing conditions in cement plant |
Authors: | สมโภชน์ ยธิกุล |
Advisors: | วิวัฒน์ ตัณฑะพานิชกุล |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Subjects: | ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ การเผาไหม้ โรตารีคิล์น |
Issue Date: | 2542 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | กระบวนการผลิตปูนเม็ดในอุตสาหกรรมซีเมนต์ใช้หลังงานความร้อนจำนวนมาก อีกทั้งปัจจุบันมีข้อ จำกัดเชิงเศรษฐศาสตร์มากขึ้นจึงจำเป็นต้องพัฒนากระบวนการผลิตให้มีการใช้พลังงานน้อยที่สุด วิธีที่สำคัญสำหรับการ ปรับปรุงเงื่อนไขการเผาไหม้อย่างเหมาะสมในเตาโรตารีคิลน์คือ การปรับลักษณะเปลวให้มีลักษณะสั้นและแคบ โดยจะ ช่วยให้ฟลักซ์ของความร้อนสูง และมีการถ่ายเทความร้อนจากเปลวไปยังเปิดวัสดุได้สูงขึ้น ซึ่งสามารถอธิบายได้ด้วย ในมนตัมของเปลวการศึกษาเรียนในการเผาไหม้ของโรคา เพื่อให้ลักษณะเปลวที่เหมาะสม ใต้กระทําโดยการปรับ เปอร์เซ็นต์แดมเปอร์ของลมนอก (Axial Air) และลมใน (Radial Air) ในช่วง 50-90% ตามลำดับ โดยเก็บรวบรวมข้อมูล การเปลี่ยนแปลงของพารามิเตอร์ ได้แก่ คุณภาพปูนเม็ด อุณหภูมิทางเข้าเตา ธาตุระเหยที่หมุนเวียนในระบบ องค์ประกอบ ก๊าซทั้ง พลังงานต่อต้นปูนเม็ด ขนาดปูนเม็ด ตรวจเชื่อการเกิดโอ๊ต และตรวจวัดโมเมนตัมของเปลวเมื่อระบบเข้าสู่สภาวะ สมดุลพบว่า โมเมนตัมของเปลวที่เหมาะสมสำหรับหัวเผาที่ใช้ทำการทดลองอยู่ในช่วง 1500-1950 *m/s ซึ่งจะได้ความ ยาวเปลวทีสั้นที่เหมาะสมคือยาวถึงประมาณเมตรที่ 33 และได้อุณหภูมิอากาศทางเข้าเคา 1150 องศาเซลเซียส ทั้งนี้การ ปรับเปอร์เซ็นต์แดมเปอร์ลมนอกจะมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงความยาวของเปลวมากกว่าการปรับเปอร์เซ็นต์แดมเปอร์ ลมใน จากเงื่อนไขการเผาปูนดังกล่าวมีผลทำให้การแลกเปลี่ยนความร้อนภายในกระบวนการผลิตดีขึ้น ได้ปูนเม็ดที่มี คุณภาพสม่ำเสมอ ปริมาณปูนเม็ดที่มีขนาดโตกว่า 6 มิลลิเมตรมีปริมาณสูงกว่า 50 % โดยพลังงานความร้อนที่ใช้ใน กระบวนการผลิต ไม่เปลี่ยนแปลงหรือสูงกว่าตัวเลขรับประกัน (Guarantee Figure) 720 * 103 กิโลแคลอรีต่อตันปูนเม็ด นอกจากนี้พบว่าปริมาณการใช้ไพรมารีแอร์ประมาณ 12-14 % มีค่าค่อนข้างสูง ซึ่งปัจจุบันการพัฒนาเทคโนโลยีหัวเผาให้มีปริมาณ ไพรมารีแอร์ลดลงต่ำกว่า 10 % เพื่อให้อุณหภูมิของเปลวสูงขึ้น และช่วยประหยัด การใช้พลังงานความร้อน |
Other Abstract: | In general, Clinker Production in cement manufacturing process utilizes a large of heat consumption. Currently, the limitation of Economic factor plays a major role in cement industry. As a result of that, it is an essential to improve a production process which takes less heat consumption at the same time. The critical concept to deal with the improvement of rotary kiln firing condition by means of flame adjustment. Ideally, short and narrow flame will entrance to get high heat flux as well as will make an appropriate condition in heat transfer occurring directly into material bed in the kiln. This phenomena can describe by theory of flame momentum. The practical method in burning process improvement can be done by adjust the percentage of damper both in Axial and Radial air in the range of 50-90%, respectively. From related data collection such as clinker quality and size, kiln inlet temperature volatilization of circulating element, heat consumption, coating occurring add also flame momentum measurement after Steady State. It can be pointed out that proper flame momentum matching with burner type is 1500-1950 %*in/s. This condition will deliver a proper flame length approximate 33 meters and have Kiln inlet temperature 1150 °C. Axial air adjustment will directly effect to flame momentum more than Radial air adjustment. As a result of above burning condition, heat exchanger in the kiln will be better than others condition including an acceptable clinker quality and heat consumption in the same time. Furthermore, the use of primary air as a combustion air about 12- 14% which is more over. Nowadays, burner technology in cement industry still under the process. improvement by using low primary air less than 10% in order to increase flame temperature and less heat consumption. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมเคมี |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68571 |
ISBN: | 9743339043 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sompoch_ya_front_p.pdf | 979.61 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompoch_ya_ch1_p.pdf | 663.12 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompoch_ya_ch2_p.pdf | 3.88 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompoch_ya_ch3_p.pdf | 648.09 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompoch_ya_ch4_p.pdf | 1.91 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompoch_ya_ch5_p.pdf | 667.93 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompoch_ya_back_p.pdf | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.