Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68681
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา วิบุลย์เศรษฐ์-
dc.contributor.authorวรรณภา กางกั้น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-26T01:35:07Z-
dc.date.available2020-10-26T01:35:07Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.issn9743310967-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68681-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางประชากร เศรษฐกิจ สังคม พฤติกรรมอนามัย และสิ่งแวดล้อมของสตรี กับความรุนแรงของการเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ และโรคไม่ติดเชื้อ ในรอบ 2 สัปดาห์ก่อนการสำรวจ โดยใช้ข้อมูลการสำรวจเกี่ยวกับอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2539 ซึ่งดำเนินการโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ ตัวอย่างของการศึกษาครั้งนี้ คือ สตรีวัยเจริญพันธุ์ ที่ป่วย/รู้สึกไม่สบาย ด้วยโรค/อาการต่าง ๆ ในรอบ 2 สัปดาห์จำนวน 2,826 ราย ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางประชากร เศรษฐกิจ สังคม พฤติกรรมอนามัย และ สิ่งแวดล้อม กับความรุนแรงของการเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ และโรคไม่ติดเชื้อ ซึ่งวัดจากจำนวนวันของการหยุดกิจวัตรประจำวัน พบว่า ปัจจัยทางประชากร เศรษฐกิจ สังคม พฤติกรรมอนามัย และสิ่งแวดล้อมของสตรี ทุกปัจจัยมีความสัมพันธ์กับความรุนแรงของการเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ และ โรคไม่ติดเชื้อในระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ สตรีต้องหยุดกิจวัตรประจำวันเฉลี่ย 1.56 วัน และมีปัจจัยที่เป็นไปตามสมมุติฐานการศึกษา คือ ระดับการศึกษา จำนวนสมาชิกในครัวเรือน ภาคที่อยู่อาศัย และเขตที่อยู่อาศัย โดยพบว่า สตรีที่มีการศึกษาสูงกว่ามีความรุนแรงของการเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อน้อยกว่าสตรีที่มีการศึกษาต่ำกว่า สตรีที่มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนน้อยกว่า มีความรุนแรงของการเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ น้อยกว่าสตรีที่มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนมากกว่า สตรีที่อยู่ในกรุงเทพมหานคร มีความรุนแรงของการเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อน้อยกว่าสตรีที่ อยู่ในภาคอื่น และสตรีที่อยู่ในเขตเทศบาล และสุขาภิบาลมีความรุนแรงของการเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ น้อยกว่าสตรีที่อยู่นอกเขตเทศบาล/สุขาภิบาล ส่วนการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดเชื้อ สตรีต้องหยุดกิจวัตร ประจำวันเฉลี่ย 3.30 วัน และมีปัจจัยที่เป็นไปตามสมมุติฐานการศึกษา คือ อายุ ระดับการศึกษา และ เขตที่อยู่อาศัย โดยพบว่า สตรีที่มีอายุน้อยกว่ามีความรุนแรงของการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดเชื้อน้อยกว่า สตรีที่มีอายุมากกว่า สตรีที่มีการศึกษาสูงกว่ามีความรุนแรงของการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดเชื้อน้อยกว่า สตรีที่มีการศึกษาต่ำกว่า และสตรีที่อยู่ในเขตเทศบาล และสุขาภิบาลมีความรุนแรงของการเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อน้อยกว่าสตรีที่อยู่นอกเขตเทศบาล/สุขาภิบาล-
dc.description.abstractalternativeThe main purpose of this study is to investigate the correlation between socio-economic and demographic characteristics, health behavior, environmental factors and the severity of illness from infectious and non-infectious diseases among females of reproductive age (15-49 years old). Data used in this research were derived from The Health and Welfare Survey, conducted by the National Statistical Office in 1996. Samples consisted of 2,826 females who reported feeling ill or not well during the two weeks prior to the survey. Result indicated that there was a correlation between several socio-demographic factors and the severity of illness from both infectious and non-infectious diseases. The severity of illness was measured by length of time away from regular activities. For those who were ill with infectious diseases, they were absent from regular activities on average of 1.6 days. It was also found that education, number of members in the household, region and urban versus rural residence have an effect on severity of illness with infectious diseases, with regard to females who were ill with non-infectious diseases, they were absent from regular activities on average of 3.3 days. Factors that have an effect on the severity of illness included age, education and urban versus rural residence.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสตรี -- ไทยen_US
dc.subjectสตรี -- สุขภาพและอนามัยen_US
dc.subjectภาวะเจริญพันธุ์en_US
dc.subjectWomen -- Thailanden_US
dc.subjectWomen -- Health and hygieneen_US
dc.subjectFertilityen_US
dc.titleภาวะการเจ็บป่วยของสตรีวัยเจริญพันธุ์ในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeMorbidity among females of reproductive age in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสังคมวิทยามหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประชากรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wannapa_ka_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ634.85 kBAdobe PDFView/Open
Wannapa_ka_ch1.pdfบทที่ 11.64 MBAdobe PDFView/Open
Wannapa_ka_ch2.pdfบทที่ 2343.42 kBAdobe PDFView/Open
Wannapa_ka_ch3.pdfบทที่ 35.84 MBAdobe PDFView/Open
Wannapa_ka_ch4.pdfบทที่ 42.05 MBAdobe PDFView/Open
Wannapa_ka_ch5.pdfบทที่ 5426.08 kBAdobe PDFView/Open
Wannapa_ka_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก688.96 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.