Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68775
Title: A study on an optimal capacity of production for setting up a single-lever mixer factory in Thailand
Other Titles: การศึกษาเพื่อหากำลังการผลิตที่เหมาะสม สำหรับการตั้งโรงงานผลิตก๊อกผสมน้ำร้อนเย็น แบบคันโยกเดี่ยวในประเทศไทย
Authors: Rarm Itarat
Advisors: Suthas RatanaKuaKangwan
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: Suthas.R@Chula.ac.th
Subjects: Industrial capacity
Production management
Production planning
Faucets
กำลังการผลิต
การบริหารงานผลิต
การวางแผนการผลิต
ก๊อกน้ำ
Issue Date: 1998
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: The study is conducted to determine the optimal capacity for setting up a single lever factory in Thailand. The objectives of the study are to forecast demand of single lever mixer for the year 1999-2003, select a suitable production process and raw material, and finally to evaluate financial returns from the project. The result from marketing study shows that the expected sale of the project in the next 5 years will be 90,000-130,000 sets per year. After studying on engineering, a suitable production process is using Polypropylene with injection molding process. However, because capacity of the project depends on capacity of injection machine and demand of the market is not exceed the minimum capacity of the machine, therefore the optimal capacity cannot be determined. Nevertheless, according to the minimum capacity of injection machine, we found out that the capacity should be 130,000 sets per year. Regarding financial estimation for the production of the factory during the year 1999-2003, the project requires 34,071,567 baht for the capital investment and provides IRR at 42.18% and payback period at 2 years.
Other Abstract: การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อหากำลังการผลิตที่เหมาะสม สำหรับการจัดตั้งโรงงานผลิตก๊อกน้ำแบบคันโยกเดี่ยวขึ้นในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ ตลอดจนเพื่อเป็นแนวทางให้แก่บุคคลที่สนใจทั่วไป ผลจากการศึกษาด้านการตลาดพบว่า ปริมาณการขายในช่วง 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ.2542- 2546) ของโรงงานที่จะตั้งขึ้นใหม่จะอยู่ในระดับ 90,000-130,000 ชุดต่อปี หลังจากศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านวิศวกรรมแล้วพบว่า กระบวนการผลิตที่เหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการข้างต้นคือ การใช้โพลีโพรพิลีนเป็นวัตถุดิบ แล้วขึ้นรูปด้วยการฉีดแต่ อันเนื่องมาจากกำลังการผลิตของโครงการ ขึ้นกับกำลังการผลิตของเครื่องฉีดพลาสติก และประกอบกับความต้องการของตลาดไม่เกินกว่ากำลังการผลิตต่ำสุดของเครื่องจักร ดังนั้นจึงไม่สามารถหากำลัง การผลิตที่เหมาะสมได้ เนื่องจากความต้องการไม่มากเพียงพอที่จะศึกษาความแตกต่างอันที่จะเกิดขึ้น หากดำเนินการผลิต ณ ระดับการผลิตต่าง ๆกัน อย่างไรก็ตามหากพิจารณาจากกำลังการผลิตต่ำสุด ของเครื่องฉีดพลาสติกที่หาได้ พบว่า ปริมาณการผลิตที่ควรผลิตคือ 130,000 ชุดต่อปี การประมาณการทางการเงินสำหรับการผลิตในช่วงปี พ.ศ.2542-2546 พบว่าโครงการ ต้องการเงินลงทุนทั้งสิ้น 34,071,567 บาท โดยเมื่อพิจารณาที่อายุโครงการ 5 ปี จะให้อัตราผลตอบแทนของโครงการ 42.18% และจะคืนทุนในระยะเวลา 2 ปี
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 1998
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Engineering Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68775
ISSN: 9746399853
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rarm_lt_front.pdfCover and abstract537.52 kBAdobe PDFView/Open
Rarm_lt_ch1.pdfChapter 11.53 MBAdobe PDFView/Open
Rarm_lt_ch2.pdfChapter 21.68 MBAdobe PDFView/Open
Rarm_lt_ch3.pdfChapter 31.48 MBAdobe PDFView/Open
Rarm_lt_ch4.pdfChapter 4770.75 kBAdobe PDFView/Open
Rarm_lt_ch5.pdfChapter 574.39 kBAdobe PDFView/Open
Rarm_lt_back.pdfReference and appendix1.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.