Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68831
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรวรรณ ปิลันธนโอวาท-
dc.contributor.authorทิพย์ธิดา เภกะนันทน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-28T07:40:12Z-
dc.date.available2020-10-28T07:40:12Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743315462-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68831-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เรื่องอัตลักษณ์ของวัยรุ่นและการใช้สื่อคาราโอเกะมีวัตถุประสงค์ในการวิจัยคือศึกษาพฤติกรรมการใช้สื่อคาราโอเกะของกลุ่มวัยรุ่นว่ามีความสัมพันธ์กับลักษณะ อัตลักษณ์ของเขาในแง่ของการรักษา ตอกย้ำ หรือ การเปลี่ยนแปลงอย่างไร การวิจัยครั้งนี้มีพื้นฐานมาจากกรอบแนวคิดเรื่องวัยรุ่นและอัตลักษณ์ (Youth and Identity) แนวคิดเรื่องการลู่เข้าเชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Convergence) และทฤษฎีการใช้สื่อเพื่อประโยชน์และความพึงพอใจ (Uses and Gratification Theory) ในการวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างจำนวน 3 กลุ่ม จำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 16 คนด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสโนว์บอลเทคนิค และเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกควบคู่กับวิธีการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม ผลการวิจัยตอบคำถามการวิจัยว่ากลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาทั้ง 3 กลุ่ม มีการใช้ประโยชน์จากสื่อคาราโอเกะเพื่อความบันเทิง เพื่อการบูรณาการและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและเพื่อสนับสนุนอัตลักษณ์ส่วนบุคคลและอัตลักษณ์กลุ่ม โดยการใช้สื่อคาราโอเกะของกลุ่มตัวอย่างมีความสัมพันธ์กับการรักษา และการตอกย้ำอัตลักษณ์ในด้านต่าง ๆ ของเขาซึ่งได้แก่ อัตลักษณ์ด้านภูมิลำเนาอัตลักษณ์ด้านชนชั้นทางสังคม และฐานะทางเศรษฐกิจและอัตลักษณ์ด้านเพศ-
dc.description.abstractalternativeThis research on Youths’ Identities and Use of Karaoke as Media was aimed to study whether and how the youths' behavior on using Karaoke as media was related to their identities in terms of maintaining, insisting or changing of their identities. The study was based on the following three theoretical frameworks: (l)youth and identity concept, (2) symbolic convergence concept, and (3) uses and gratification theory. The data were collected from three different sample groups of youths with the combined members of 16 chosen by the Snowball Technique. Qualitative approach including in-depth interviews and participant observation was employed. The findings concluded that all three groups used Karaoke for entertainment, for social interactions with others, and for promoting individuals’ and groups’ identities. Also, the groups' behavior on using Karaoke was found to be related to their identities regarding geographical background, socio-economic status, and social sex roles.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอัตลักษณ์en_US
dc.subjectวัยรุ่นen_US
dc.subjectคาราโอเกะen_US
dc.subjectIdentity (Psychology) in adolescenceen_US
dc.titleอัตลักษณ์ของวัยรุ่นและการใช้สื่อคาราโอเกะen_US
dc.title.alternativeKaraoke and youth identityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thipthida_be_front_p.pdf900.28 kBAdobe PDFView/Open
Thipthida_be_ch1_p.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
Thipthida_be_ch2_p.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open
Thipthida_be_ch3_p.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open
Thipthida_be_ch4_p.pdf2.48 MBAdobe PDFView/Open
Thipthida_be_ch5_p.pdf2.25 MBAdobe PDFView/Open
Thipthida_be_ch6_p.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open
Thipthida_be_back_p.pdf985.56 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.