Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68839
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วนิดา จีนศาสตร์ | - |
dc.contributor.advisor | สว่าง แสงหิรัญวัฒนา | - |
dc.contributor.author | วีระอนงค์ ประสพโชค | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-10-28T08:34:24Z | - |
dc.date.available | 2020-10-28T08:34:24Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9743311939 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68839 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์(วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของระบบทางเดินหายใจของฝุ่นพีเอ็มเท็นและฝุ่นซิลิกา ในกลุ่มตัวอย่างที่ไม่สูบบุหรี่ อายุระหว่าง 20-65 ปี ในจังหวัดสระบุรีโดยทำการศึกษาโดยหาความสัมพันธ์ระหว่างอาการของระบบทางเดินหายใจกับปริมาณฝุ่นที่เป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ โดยการใช้แบบสอบถามของ ATS-DLD 78A ภาคภาษาไทย จำนวน 600 ฉบับ ใน 3 หมู่บ้าน และ ตอบแบบสอบถามกลับมาเท่ากับ 58.67% ทำการตรวจสุขภาพระบบทางเดินหายใจโดยการตรวจสมรรถภาพปอด และ การถ่ายภาพรังสีทรวงอก ในกลุ่มศึกษาจำนวน 150 คน และในกลุ่มควบคุมจำนวน 85 คน ทำการเก็บตัวอย่างฝุ่นทั้ง 2 ชนิด โดยใช้เครื่องเก็บตัวอย่างอากาศแบบเฉพาะบุคคล ในกลุ่มศึกษาชนิดละ 60 ตัวอย่างและในกลุ่มควบคุมชนิดละ 20 ตัวอย่าง จากผลการตรวจวัด ในกลุ่มศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยปริมาณฝุ่นรวมของพีเอ็ม-เห็น เท่ากับ 0.300±0.375 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร ค่าเฉลี่ยร้อยละของซิลิกาเท่ากับ 32.69±13.65 ค่าเฉลี่ยปริมาณฝุ่นรวมซิลิกาเท่ากับ 0.269±0.375 และมีค่ามาตรฐานระหว่าง 0.101-0.778 มิลลิกรัม/ลูกบาศก์เมตร พบว่ามี 14 ตัวอย่างที่มีปริมาณฝุ่นซิลิกาเกินมาตรฐาน และค่าเฉลี่ยของ %FVC และ %FEV1 ในกลุ่มศึกษาเท่ากับ 80.26 และ 77.00 ซึ่งต่ำกว่ากลุ่มควบคุมและผลการตรวจสมรรถภาพปอดผิดปกติในกลุ่มศึกษาเท่ากับ 61 ราย (40.6 %) และผลภาพถ่ายรังสีทรวงอกผิดปกติเนื่องจากฝุ่นละอองในกลุ่มศึกษาเท่ากับ 26 ราย (17.3%) เนื้อหาความสัมพันธ์ของความเข้มข้นปริมาณฝุ่นซิลิกาและฝุ่นพีเอ็ม-เท็นกับผลการตรวจสมรรถภาพปอดและผลภาพถ่ายรังสีทรวงอกในกลุ่มศึกษา พบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) | - |
dc.description.abstractalternative | This study reports the result of an investigation of the health effects of PM-10 and Silica dust among non-smoking adult age between 20-65 years old in Saraburi Province. The Epidemiologic cross- sectional studied have observed associations between respiratory symptoms and PM-10 and silica dust modified during December, 1997 - April, 1998. ATS-DLD 78A Questionnaires (Thai version) were used for 600 subjects living in 3 villages in Saraburi province. The response rate of answering questionnaires is 58.67%. Pulmonary function test and Chest X-rays were performed in 150 rock cutting subjects and 85 resident controls. The 60 subjects and 20 controls were randomly selected to measure individual exposure dust using personal sampling pump. The mean of exposure PM-10 in subjects were 0.300±0.375 mg/m3 . Mean of %SiO2 in subjects were 32.69±13.65 and mean of exposure silica dust in subjects were 0.269±0.375 mg/m3 (TLV : 0.101-0.778 mg/m3 ). Among 14 subjects theirs exposure were over the ambient standard. Mean of %FVC and %FEV1 in the subjects were 80.26 and 77.00 that less than the controls. The abnormal result of pulmonary function test and chest x-rays with pneumoconiosis in these subjects were 61 cases (40.60%) and 26 cases (17.30%) that higher than the controls. The duration and increase in PM-10 and total of silica dust concentration related to abnormality in respiratory symptoms (p < 0.05) | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ทางเดินหายใจ | en_US |
dc.subject | ฝุ่นแร่ | en_US |
dc.subject | ซิลิกา | en_US |
dc.subject | พีเอ็ม-เท็น | en_US |
dc.subject | โรคเกิดจากอาชีพ | en_US |
dc.title | ผลกระทบของฝุ่นพีเอ็ม-เท็นและฝุ่นซิลิกาที่มีต่อภาวะสุขภาพของระบบทางเดินหายใจของผู้ประกอบการสกัดหินและประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียงในเขตจังหวัดสระบุรี | en_US |
dc.title.alternative | Effects of PM-10 and silica dust on respiratory health of rock cutting workers and nearby residential population in Saraburi province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา) | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Wanida.J@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Sawang.Sa@Bangkokhospital.com | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Weera-anong_pr_front_p.pdf | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Weera-anong_pr_ch1_p.pdf | 799.25 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Weera-anong_pr_ch2_p.pdf | 1.74 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Weera-anong_pr_ch3_p.pdf | 2.09 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Weera-anong_pr_ch4_p.pdf | 2.69 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Weera-anong_pr_ch5_p.pdf | 852.85 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.