Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68898
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกฤษดา วิศวธีรานนท์-
dc.contributor.authorรณน สถิตย์ปัญญาพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-29T09:03:03Z-
dc.date.available2020-10-29T09:03:03Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743315039-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68898-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการพัฒนาระบบสเกดาโดยใช้ไมโครคอมพิวเตอร์เป็นสถานีแม่ข่ายและมีสถานีลูกข่ายหลายตัวในระบบ โดย การนำเอาโปรโตคอลของ IEEE std 999-1992 มาศึกษาและทดลองเพี่อใช้ในการสื่อสารข้อมูลระหว่างสถานีแม่ข่ายและ สถานีลูกข่ายว่ามีความเหมาะสมเพียงใดในด้านการใช้งาน ในระบบได้นำเอาไมโครคอนโทรลเลอร์ของอินเทล เบอร์ 80C32 มาใช้ในการสร้างสถานีลูกข่ายรวมทั้งวงจรเข้ารหัสและวงจรถอดรหัสของโปรโตคอลนี้ และใช้ซอฟต์แวร์วิชวลเบสิกในการพัฒนาสเกดาซอฟต์แวร์บนสถานีแม่ข่ายเพื่อรวบรวมข้อมูลและแสดงผลบนจอมอนิเตอร์ ของไมโครคอมพิวเตอร์ จากการทดลองสร้างพบว่าระบบสเกดาที่ใช้โปรโตคอลของ IEEE std 999-1992 นี้พบว่า สามารถใช้ในการรับส่งข้อมูลได้ดี และจากการใช้การเข้ารหัสและถอดรหัสเพี่อแก้ไขความผิดพลาดในการส่งข้อมูล ทำให้ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการรับส่งข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยนี้ ระบบนี้สามารถที่จะพัฒนาได้ง่าย, มีต้นทุนต่ำ ใช้เปรโตคอลที่เป็นมาตรฐานทำให้ต่อเชื่อมกับอุปกรณ์อื่น ๆ ได้ง่าย-
dc.description.abstractalternativeThe Development of a microcomputer-based SCADA system composed of a microcomputer as a master station and many microcontroller based remote stations. The SCADA system use an IEEE std 999-1992 protocol to implement the data communication between a master station and many remote stations. The Intel 80C32 microcontroller was applied for a remote station, encoder and decoder circuits. The SCADA software was developed on the master station by using Visual BASIC to acquisted the data and display on the CRT monitor of the microcomputer. The experiment on IEEE std 999-1992 protocol found that the data communication work very well. The encoder and decoder circuits can detect error and correct the data, these increase efficiency of data transmission. The SCADA system by using IEEE std 999-1992 protocol is easy to develop, low cost system and easy to interface to other equipment’s.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectระบบสเกดาen_US
dc.subjectระบบสื่อสารข้อมูลen_US
dc.subjectโปรโตคอลเครือข่ายคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectไมโครคอนโทรลเลอร์en_US
dc.titleการพัฒนาระบบสเกดาโดยใช้ไมโครคอมพิวเตอร์en_US
dc.title.alternativeDevelopment of a microcomputer-based SCADA systemen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKrisada.V@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ranon_sa_front_p.pdf997.76 kBAdobe PDFView/Open
Ranon_sa_ch1_p.pdf732.95 kBAdobe PDFView/Open
Ranon_sa_ch2_p.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open
Ranon_sa_ch3_p.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open
Ranon_sa_ch4_p.pdf1.61 MBAdobe PDFView/Open
Ranon_sa_ch5_p.pdf748.78 kBAdobe PDFView/Open
Ranon_sa_back_p.pdf2.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.