Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68927
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจันทร์จรัส เรี่ยวเดชะ-
dc.contributor.authorพีรชัย สัตตธารา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-30T03:26:03Z-
dc.date.available2020-10-30T03:26:03Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743311696-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68927-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541-
dc.description.abstractศึกษาข้อมูลการให้ผลผลิตแม่สุกรสองสาย จำนวน 1,354 ตัว ซึ่งรวบรวมจากฟาร์มเอกชนในจังหวัดนครปฐมและราชบุรี ในช่วงปี พ.ศ.2535-2539 พบว่าระยะเวลาจากหย่านมถึงผสมครั้งแรกของแม่สุกรท้องแรกมากกว่าแม่สุกรหลายท้อง โดยมีค่าเฉลี่ยลิสท์แควร์ของระยะเวลาจากหย่านมถึงผสมครั้งแรกเท่ากับ 18.38±1.96 วัน และ 8.86±1.92 วัน ตามลำดับ (p<0.01) เมื่อแยกการศึกษาออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลาจากหย่านมถึงผสมครั้งแรกในแม่สุกรทั้งหมด พบว่าปัจจัยของฝูง-ปี-ฤดู ลำดับการอุ้มท้อง และระยะเวลาในการเลี้ยงลูกที่ผ่านมามีผลต่อระยะเวลาจากหย่านมถึงผสมครั้งแรกโดยแม่ สุกรที่มีจำนวนวันในการเลี้ยงลูก 10-15 วัน จะมีระยะเวลาจากหย่านมถึงผสมครั้งแรกเท่ากับ 18.62±3.60 วัน มากกว่าแม่สุกรที่มีจำนวนวันในการเลี้ยงลูกมากกว่า 15 วันขึ้นไป ที่มีระยะเวลาจากหย่านมถึงผสมครั้งแรกเท่ากับ 8.26+1.02 วัน(p<0.01) ส่วนขนาดครอกในรอบการผลิตที่ผ่านมาไม่มีผลต่อระยะเวลาจากหย่านมถึงผสมครั้งแรก ส่วนที่สอง ศึกษาผลของระยะเวลาจากหย่านมถึงผสมครั้งแรกต่อจำนวนลูกแรกคลอดทั้งหมดและจำนวนลูกแรกคลอดมีชีวิตในรอบการผลิตต่อมาของแม่สุกร พบว่าในแม่สุกรท้องแรกที่มีระยะเวลา จากหย่านมถึงผสมครั้งแรก 4 วัน จะมีค่าเฉลี่ยลีสท์สแควร์ของจำนวนลูกแรกคลอดทั้งหมดในรอบต่อมา มากกว่าแม่สุกรที่มีระยะเวลาจากหย่านมถึงผสมครั้งแรก 0-3 วัน เท่ากับ 1.26 ตัว (p<0.05) และแม่สุกรท้องแรก ที่มีระยะเวลาจากหย่านมถึงผสมครั้งแรก 7 วัน จะมีค่าเฉลี่ยลีสท์สแควร์ของจำนวนลูกแรกคลอดมีชีวิตมากกว่าแม่สุกรที่มีระยะเวลาจากหย่านมถึงผสมครั้งแรกมากกว่า 18 วัน เท่ากับ 0.30 ตัว(p<0.05) การศึกษาในแม่สุกรหลายท้อง พบว่าแม่สุกรที่มีระยะเวลาจากหย่านมถึงผสมครั้งแรก 4 วัน จะมีค่าเฉลี่ยลีสท์สแควร์ของจำนวนลูกแรกคลอดทั้งหมดในรอบต่อมามากกว่าแม่สุกรที่มีระยะเวลาจากหย่านมถึงผสมครั้งแรก 7 วัน เท่ากับ 0.63 ตัว (p<0.05) และแม่สุกรหลายท้องที่มีระยะเวลาจากหย่านมถึงผสมครั้งแรกมากว่า 18 วัน จะมีค่า เฉลี่ยลีสท์สแควร์ของจำนวนลูกแรกคลอดมีชีวิตมากกว่าแม่สุกรที่มีระยะเวลาจากหย่านมถึงผสมครั้งแรก 13-18 วัน เท่ากับ 0.38 ตัว (p<0.05)-
dc.description.abstractalternativePerformance Records from 1,354 sows during the year 1992-1996 of three commercial crossbred sow herds were used to determine the effects of the weaning to first service intervals (INTERVALS) on subsequent reproduction. INTERVALS on primiparous sows were longer than pluriparous sows (p<0.01). They were 18.38±1.96 days and 8.86±1.92 days, respectively. Least squares analysis of unequal subclass data were used to analyse factors affected INTERVALS. Herd-year-season, parity and weaning periods significantly affected INTERVALS. (p<0.01), while litter size did not. Sows that weaned piglets less than 15d showed 10.36d longer INTERVALS that those weaned piglets after 15d period. (p<0.01) Effects of INTERVALS on the subsequent parity namely, total pigs born(TBi+1) and pigs born alive (BAi+1) were determined by least squeares analysis of unequal subclass data. For Primiparous sows, 4d INTERVALS resulted in 1.26 TB i+1 more piglets than 0-3d INTERVALS. (p<0.05), and 7d INTERVALS resulted in 0.30 BAi+1 more piglets than >18d INTERVALS. (p<0.05) Pluriparous sows, 4d INTERVALS resulted in 0.63 TBi+1 more piglets than 7d INTERVALS.(p<0.05) ,and >18d INTERVALS resulted in 0.38 BAi+1 more piglets than 13-18d INTERVALS. (p<0.05)-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectแม่พันธุ์สุกร-
dc.subjectการหย่านม-
dc.subjectสุกร -- การสืบพันธุ์-
dc.titleผลของระยะเวลาจากหย่านมถึงผสมครั้งแรกต่อลักษณะการสืบพันธุ์ในรอบการผลิตต่อไปของแม่สุกร-
dc.title.alternativeEffects of the weaning to first service intervals on subsequent reproductive traits of sows-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการปรับปรุงพันธุ์สัตว์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Peerachai_sa_front_p.pdf974.23 kBAdobe PDFView/Open
Peerachai_sa_ch1_p.pdf797.16 kBAdobe PDFView/Open
Peerachai_sa_ch2_p.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
Peerachai_sa_ch3_p.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Peerachai_sa_ch4_p.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open
Peerachai_sa_ch5_p.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Peerachai_sa_back_p.pdf819.58 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.