Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69046
Title: การรักษาสถานที่เกิดเหตุในคดีอาญา
Other Titles: Crime scene protection
Authors: สมาน ศิริเจริญสุข
Advisors: วีระพงษ์ บุญโญภาส
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Viraphong.B@Chula.ac.th
Subjects: สถานที่เกิดเหตุ
พยานหลักฐานคดีอาญา
การพิสูจน์หลักฐาน
การสืบสวนคดีอาญา
Crime scenes
Evidence, Criminal
Evidence (Law)
Criminal investigation
Issue Date: 2541
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: สถานที่เกิดเหตุเป็นแห่งสำคัญในการแสวงหาและรวบรวมพยานหลักฐาน แม้อาชญากรมีการวางแผนสลับซับซ้อนเพียงใดก็ตามมักทิ้งร่องรอยพยานหลักฐานในการกระทำความผิดอันเป็นพยานหลักฐาน ทางวิทยาศาสตร์ไว้ในที่เกิดเหตุเสมอ อย่างไรก็ตามร่องรอยพยานหลักฐานในสถานที่เกิดเหตุมักถูกทำลาย หรือทำให้เสียหายเพราะระเบียบปฏิบัติที่กำหนดให้เจ้าพนักงานปฏิบัติไม่สอดคล้องกับกฎหมายเป็นเหตุให้ ประชาชนไม่อาจทราบได้ว่าการกระทำดังกล่าวเป็นการขัดคำสั่งเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 368 จากการศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศญี่ปุ่น บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายอาญามาตรา 368 และมาตรา 138 สามารถนำมาใช้ในการรักษาสถานที่เกิดเหตุได้อย่างมีประสิทธิ ภาพเมื่อปรับปรุงระเบียบปฏิบัติในการรักษาสถานที่เกิดเหตุให้สอดคล้องกับกฎหมายดังกล่าว เพี่อให้เป็นคำสั่งที่ชัดเจนต่อไป
Other Abstract: Crime Scene is an original source for seeking and collecting evidence witnesses. Even how much complications have been planned by criminal, the traces of evidence in committing offences which are the significant scientific evidenes have always been left to be seen at the crime scene. However, the traces of evidence at the crime scene have. often been destroyed or damaged one thing due to the inconsistency of the law that requires the authorities to perform on their duties, causes most people are unable to know about such act whether or not it is against the authority’ s order in accordance with Section 368. From the study in comparison the same with that of the United States of America and Japan, provisions of the criminal code on Section 368 and 138 are able to be applied for use for taking care of the conditions of the crime scene effectively as the procedures have been amended to be practicable with such law for further issue of the clear order in the future.
Description: วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
Degree Name: นิติศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิติศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69046
ISBN: 9743310363
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saman_si_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ886.06 kBAdobe PDFView/Open
Saman_si_ch1_p.pdfบทที่ 11.27 MBAdobe PDFView/Open
Saman_si_ch2_p.pdfบทที่ 21.8 MBAdobe PDFView/Open
Saman_si_ch3_p.pdfบทที่ 32.54 MBAdobe PDFView/Open
Saman_si_ch4_p.pdfบทที่ 42.19 MBAdobe PDFView/Open
Saman_si_ch5_p.pdfบทที่ 51.06 MBAdobe PDFView/Open
Saman_si_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก806.93 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.