Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69051
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นลิน นิลอุบล | - |
dc.contributor.advisor | สุรพงศ์ นวังคสัตถุศาสน์ | - |
dc.contributor.advisor | วาสนา โตเลี้ยง | - |
dc.contributor.author | สรัญญา ดิลกกัลยากุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-11-03T08:31:15Z | - |
dc.date.available | 2020-11-03T08:31:15Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9743319891 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69051 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้เปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิตกรดมะนาวจากแป้งมันสำปะหลังที่ผ่านการย่อยแล้วด้วย เอนไซม์ โดยแบคทีเรีย Bacillus licheniformis ATCC 21667, Bacillus subtilis ATCC 21610, Brevibacterium flavum ATCC 21682, Achromobacter nucleoacidoves ATCC 21683 และ Corynebactenum fascians ATCC 21684 พบว่า B. subtilis ATCC 21610 มีประสิทธิภาพในการผลิตกรดมะนาวสูงสุด ดังนั้นจึงเลือก B. subtilis ATCC 21610 มาศึกษาเพื่อหาภาวะที่เหมาะสมสำหรับการผลิตกรดมะนาว ผลการศึกษาพบว่าองค์ประกอบของอาหารเตรียมหัวเชื้อที่เหมาะสม ใน 1 ลิตรประกอบด้วย กลูโคส 5.00 กรัม แอมโมเนียมซัลเฟต 1.30 กรัม แมกนีเซียมชัลเฟตเฮปตาไฮเดรต 0.25 กรัม โพแทสเซียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต 0.37 กรัม เฟร์ริกคลอไรศ์ 0.02 กรัม แคลเซียมคลอไรด์ไดไฮเดรต 0.07 กรัม และ สารสกัดจากยีสต์ 4.00 กรัม ส่วนอาหารเลี้ยงเชื้อเพื่อผลิตกรดมะนาวที่เหมาะสมใน 1 ลิตร ประกอบด้วย แป้งมันสำปะหลังที่ผ่านการย่อยแล้วด้วยเอนไซม์ ซึ่งมีนาตาลกลูโคส 100.00 กรัม แอมโมเนียมซัลเฟต 2.00 กรัม แมกนีเซียม ซัลเฟตเฮปตาไฮเดรต 0.25 กรัม โพแทสเซียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต 0.30 กรัม เฟร์ริกคลอไรด์ 0.02 กรัม แคลเซียม คลอไรด์ไดไฮเดรต 0.07 กรัม และแคลเซียมคาร์บอเนต 50.00 กรัม เมื่อเลี้ยง B. subtilis ATCC 21610 เพื่อผลิตกรดมะนาวในระดับถังหมักขนาด 5 ลิตร ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส อัตราการกวน 600 รอบต่อนาที อัตราการให้ อากาศ 1 vvm พบว่า สามารถผลิตกรดมะนาวได้ 48.93 กรัมต่อลิตร คิดเป็นผลผลิตกรดมะนาว (Yp/s) เท่ากับ 0.56 โดยการผลิตกรดมะนาวจะเริ่มขึ้นหลังจากที่ระยะเวลาการหมักผ่านไป 16 ชั่วโมงและเพิ่มขึ้นจนเกือบคงที่ที่ 40 ชั่วโมง การหมักในภาวะดังกล่าวพบว่านาหมักไม่มีความหนืดและไม่พบกรดไอโซซิทริก | - |
dc.description.abstractalternative | The efficiency of citric acid production from hydrolysed cassava starch by Bacillus licheniformis ATCC 21667, Bacillus subtilis ATCC 21610, Brevibacterium flavum ATCC 21682, Achromobacter nucleoacidoves ATCC 21683 and Corynebacterium fascians ATCC 21684 were determined and B. subtilis ATCC 21610 was selected for this study. The optimal conditions for citric acid production by B. subtilis ATCC 21610 were investigated. The suitable medium for inoculum preparation contained per liter : 5.00 g of glucose, 1.30 g of (NH4)2SO4, 0.25 g of MgSO4.7H2O, 0.37 g of KH2PO4, 0.02 g of FeCI3, 0.07 g of CaCI2.2H2O and 4.00 g of yeast extract, while the suitable medium for citric acid production contained enzyme-hydrolysate of cassava starch equivalent to 100.00 g of glucose, 2.00 g of (NH4)2SO4, 0.25 g of MgSO4.7H2O, 0.30 g of KH2PO4, 0.02 g of FeCI3, 0.07 g of CaCI2.2H2O and 50.00 g of CaCO3. Cuitivation of B. subtilis ATCC 21610 in a 5 liter-fermentor by using this medium at 37 °c, agitation speed of 600 rpm and aeration rate of 1 vvm, maximum citric acid production of 48.93 g/l with yield coefficient (YpIs) of 0.56 was obtained. Citric acid was observed after 16 h of cultivation and the maximum yield was reached after 40 h of cultivation with no viscosity and no accumulation of isocitric acid during cultivation. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | กรดมะนาว | en_US |
dc.subject | อาหารเลี้ยงเชื้อ | en_US |
dc.subject | แบคทีเรีย | en_US |
dc.subject | Citric acid | en_US |
dc.subject | Culture media (Biology) | en_US |
dc.subject | Bacteria | en_US |
dc.title | การผลิตกรดมะนาวจากแป้งที่ผ่านการย่อยแล้ว ด้วยแบคทีเรีย | en_US |
dc.title.alternative | Citric acid production from hydrolysed starch by bacteria | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีชีวภาพ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Naline.N@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Surapong.N@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Vasana.T@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sarunya_di_front_p.pdf | หน้าปก และบทคัดย่อ | 1.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sarunya_di_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 1.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sarunya_di_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 910.67 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sarunya_di_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 4.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sarunya_di_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 823.07 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sarunya_di_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 1.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.