Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69195
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริชัย ศิริกายะ-
dc.contributor.authorรัชดา สง่าอารีย์กูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-06T08:05:14Z-
dc.date.available2020-11-06T08:05:14Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.issn9743320873-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69195-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงบทบาทของสื่อมวลชน กระบวนการด้านการใช้สื่อมวลชนของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ในเรื่องการจัดตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ตั้งแต่ช่วงเวลาปี พ.ศ. 2530-2540 และเพื่อเสนอมาตรการการดำเนินงานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ในเรื่องนี้ ผลการศึกษาวิจัยพบว่า สื่อมวลชนทำหน้าที่เป็นเพียงตัวกลาง ดูแลสอดส่อง ให้ข้อมูลข่าวสาร คอยกรองสาร เกี่ยวกับการจัดตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ทำให้ไม่สามารถส่งถึงประชาชนได้ทั้งหมด ไม่ได้ทำหน้าที่ระดมสรรพกำลัง และกำหนดวาระข่าวสาร เพื่อให้เกิดการจัดตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และกระบวนการการใช้สื่อมวลชนของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ในเรื่องการจัดตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ พบว่ามีการใช้สื่อมวลชนหลายรูปแบบ แต่เนื่องจากไม่มีนโยบายการดำเนินงานอย่างชัดเจนจากรัฐบาล และไม่มีแผนงานที่เป็นแนวทางการปฏิบัติ ปัญหาเรื่องงบประมาณและบุคลากรที่ไม่เหมาะสมและเพียงพอ จึงทำให้ประสิทธิภาพของการใช้สื่อมวลชนยังไม่ได้ผลเท่าที่ควร และได้เสนอทางเลือกสำหรับการดำเนินงานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เรื่องการจัดตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 3 ทางเลือก คือ การอยู่เฉยๆ ดำเนินการเชิงรุกอย่างเต็มที่ หรือยุติการดำเนินงาน-
dc.description.abstractalternativeการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงบทบาทของสื่อมวลชน กระบวนการด้านการใช้สื่อมวลชนของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ในเรื่องการจัดตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ตั้งแต่ช่วงเวลาปี พ.ศ. 2530-2540 และเพื่อเสนอมาตรการการดำเนินงานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ในเรื่องนี้ ผลการศึกษาวิจัยพบว่า สื่อมวลชนทำหน้าที่เป็นเพียงตัวกลาง ดูแลสอดส่อง ให้ข้อมูลข่าวสาร คอยกรองสาร เกี่ยวกับการจัดตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ทำให้ไม่สามารถส่งถึงประชาชนได้ทั้งหมด ไม่ได้ทำหน้าที่ระดมสรรพกำลัง และกำหนดวาระข่าวสาร เพื่อให้เกิดการจัดตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และกระบวนการการใช้สื่อมวลชนของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ในเรื่องการจัดตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ พบว่ามีการใช้สื่อมวลชนหลายรูปแบบ แต่เนื่องจากไม่มีนโยบายการดำเนินงานอย่างชัดเจนจากรัฐบาล และไม่มีแผนงานที่เป็นแนวทางการปฏิบัติ ปัญหาเรื่องงบประมาณและบุคลากรที่ไม่เหมาะสมและเพียงพอ จึงทำให้ประสิทธิภาพของการใช้สื่อมวลชนยังไม่ได้ผลเท่าที่ควร และได้เสนอทางเลือกสำหรับการดำเนินงานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เรื่องการจัดตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 3 ทางเลือก คือ การอยู่เฉยๆ ดำเนินการเชิงรุกอย่างเต็มที่ หรือยุติการดำเนินงาน-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโรงไฟฟ้านิวเคลียร์en_US
dc.subjectสื่อมวลชนen_US
dc.subjectการสื่อสารen_US
dc.subjectNuclear power plantsen_US
dc.subjectMass mediaen_US
dc.subjectCommunicationen_US
dc.titleบทบาทของสื่อมวลชนกับการจัดตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ พ.ศ.2530-2540en_US
dc.title.alternativeThe role of media towards the nuclear power plant construction 1987-1997en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSirichai.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ruchada_sa_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ390.19 kBAdobe PDFView/Open
Ruchada_sa_ch1.pdfบทที่ 1657.57 kBAdobe PDFView/Open
Ruchada_sa_ch2.pdfบทที่ 2529.1 kBAdobe PDFView/Open
Ruchada_sa_ch3.pdfบทที่ 3399.33 kBAdobe PDFView/Open
Ruchada_sa_ch4.pdfบทที่ 43.55 MBAdobe PDFView/Open
Ruchada_sa_ch5.pdfบทที่ 51.68 MBAdobe PDFView/Open
Ruchada_sa_ch6.pdfบทที่ 6212.1 kBAdobe PDFView/Open
Ruchada_sa_ch7.pdfบทที่ 7326.65 kBAdobe PDFView/Open
Ruchada_sa_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.